รองศาสตราจาร์ ดร.ธัชชนันท์ อิศรเดช
Assoc.Prof.Dr.Thatchanan Issaradet
๑. วุฒิการศึกษา | |||
ปีสำเร็จการศึกษา | ระดับการศึกษา | สถาบัน | เอกสาร |
พ.ศ. ๒๕๓๕ | พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ (เกียรตินิยม) | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | |
พ.ศ. ๒๕๕๙ | นิติศาสตรบัณฑิต | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | |
พ.ศ. ๒๕๓๘ | M.A. (Political Scienc) | Marathwada University, Aurangabad, INDIA | |
พ.ศ. ๒๕๖๕ | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | |
พ.ศ. ๒๕๔๓ | Ph.D.(Political Science) | Marathwada University, Aurangabad, INDIA |
๒. ตำแหน่งปัจจุบัน | ||
ก. ตำแหน่งทางวิชาการ/บริหาร | ||
พ.ศ. ๒๕๔๘ | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชารัฐศาสร์ | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๖๑ | รองศาสตราจารย์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๓ | ผู้อำนวยการหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร ณ วัดป่าประดู่ อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง | |
พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๘ | ผู้อำนวยการหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร ณ วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี | |
พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ | รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าภาควิชานิติศาสตร์ | |
พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑ | ผู้อำนวยการหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ | |
พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓ | รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการกองนิติการ | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๖๑ – ปัจจุบัน | ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป มจร | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๖๗ – ปัจจุบัน | ผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ | (PDF) |
ข. ตำแหน่งกรรมการประจำหน่วยงานใน มจร และภายนอก |
||
พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๓ | กรรมการสภาวิชาการ | |
พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ | เลขาธิการสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒ สมัย | |
พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ | กรรมการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ฝ่ายสมาชิก มจร ๒ สมัย | |
พ.ศ. ๒๕๖๕ – ปัจจุบัน | นายกสมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
๓. ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และสิ่งตีพิมพ์ | ||
๑. ผลงานวิจัย | ||
๑.๑ | ||
๑.๒ | ||
๑.๓ | ||
๒. ผลงานทางวิชาการ : ตำรา/หนังสือ | ||
๒.๑ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. การจัดการสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘. | |
๒.๒ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. “การจัดการเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม” ใน พื้นฐานทางการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕. | |
๒.๓ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. “อำนาจและภาวะผู้นำเชิงพุทธ” ใน ทฤษฎีองค์การและการจัดการเชิงพุทธ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕. | |
๒.๔ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. “พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์” ใน การเมืองกับการปกครองของไทย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙. | |
๒.๕ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. นครปฐม : ห้างหุ้นส่วนจำกัด สินทวีกิจ พริ้นติ้ง, ๒๕๕๙. | |
๒.๖ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. แนวคิดทางการเมืองของนักคิดสำคัญในตะวันออก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๐. | |
๒.๗ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. ภาวะผู้นำทางการเมืองตามแนวพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๐. | |
๒.๘ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. “นิติปรัชญาสำนักประวัติศาสตร์และสำนักกฎหมายบ้านเมือง” ใน นิติปรัชญาแนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๒. | |
๓. สิ่งตีพิมพ์/บทความทางวิชาการ | ||
๓.๑ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. “รูปแบบวัฒนธรรมองค์กรเพื่อความเป็นเลิศทางพุทธจริยธรรมของมหาวิทยาลัยสงฆ์”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (๒๕๖๐) : ๒๕๕ – ๒๖๘. | (PDF) |
๓.๒ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. “ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการกองทุนสัจจะออมทรัพย์ เพื่อความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชน ในจังหวัดระยอง”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (พิเศษ) (๒๕๖๐) : ๔๕๗ – ๔๗๓. | (PDF) |
๓.๓ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. “การพัฒนาภาวะผู้นาของพระสงฆ์เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน”. วารสาร มหาจุฬานาครทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๑๐๕ – ๑๒๑. | (PDF) |
๓.๔ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. “การส่งเสริมจิตสำนึกการเมืองภาคพลเมืองเพื่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของประชาชน อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๓) : ๔๗ – ๕๘. | (PDF) |
๓.๕ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. “แนวคิดทางการเมืองของขงเบ้งในวรรณกรรมสามก๊กที่มีต่อสังคมไทย”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๓) : ๒๒๓ – ๒๓๒. | (PDF) |
๓.๖ | ธัชชนันท์ อิศรเดช และคณะ. “ชุมชนกับการจัดการปัญหาความเหลื่อมล้ำเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกรณีศึกษาชาวตำบลหนองสาหร่าย”. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๑ (พฤศจิกายน ๒๕๖๓) : ๓๗๕ – ๓๘๘. | (PDF) |
๓.๗ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. “การพัฒนาภาวะผู้นำของพระสงฆ์เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๑๐๕ – ๑๑๘. | |
๓.๘ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. “การพัฒนานวัตกรรมการส่งเสริมพฤติกรรมการเลือกตั้งของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง”. วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๒) : ๒๗ – ๔๘. | |
๓.๙ | ธัชชนันท์ อิศรเดช, วสันต์ ลิ่มรัตนภัทรกุล. “ชุมชนกับการจัดการปัญหาความเหลื่อมล้ำเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาชาวตำบลหนองสาหร่าย”, วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ วัดวังตะวันตก จังหวัดนครศรีธรรมราช. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๑ (พฤศจิกายน ๒๕๖๓) : ๓๗๕ – ๓๘๘. | |
๓.๑๐ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. “แนวทางและความเป็นไปได้ในการมอบอำนาจรัฐให้เอกชนออกคำสั่งทางปกครอง”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช, ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑๐ (ตุลาคม ๒๕๖๔) : ๒๔๕ – ๒๖๑. | |
๓.๑๑ | ธัชชนันท์ อิศรเดช. “วัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล”, วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ วัดวังตะวันตก จังหวัดนครศรีธรรมราช. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม ๒๕๖๕) : ๔๘๒ – ๔๙๙. | |
๔. ผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติ |
||
4.1 | Phramah Boonlert Chuaythanee, Konit Srithong and Thatchanan Issaradet, Concept and Model of Cultural Politics, International Journal of Management and Economics, Vol. I No.25 September -2018. p.5-9. Chetan Publications Aurangabad- INDIA. | |
4.2 | Thatchanan Issaradet and Phatraphol Jaiyen, The Leadership Development of Monks for the Preparedness of the ASEAN Community, Buddhacakra (Special Issues) : International Seminar, Buddhist Sihanouk Raja University Cambodia, March 27, 2021. p.303-315. | |
Publication in SCOPUS |
||
(1) |
๔. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร/การฝึกอบรม | ||
๑. | วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้เข้ารับการพัฒนาอบรม สัมมนาวิชาการเส้นทางสู่ตำแหน่งทางวิชาการ Road Map to Academic Positions | (วุฒิบัตร) |
๒. | วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๖๔โครงการอบรมออนไลน์ “การวิจัยและพัฒนา (R & D) และเทคนิค ตัวอย่างการพัฒนา นวัตกรรมในงานวิจัยทางการศึกษา” จัดโดย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ร่วมกับ หน่วยปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อสังคมไทย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | (วุฒิบัตร) |
๓. | วันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๔ เข้ารว่มสัมมนาวิชาการ “คุณธรรมจริยธรรมของนักกฎหมายไทย” โครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตร “วันรพี” รำลึกพระกรุณาธิคุณพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ “บิดาแห่งกฎหมายไทย” | (วุฒิบัตร) |
๔. | วันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๔ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรราการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริต โดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๒ เรื่อง หลักธรรมกับการขับเคลื่อนพลัง “บ-ว-ร” ต่อต้านการทุจริต จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และสำนักงาน ป.ป.ช. | (วุฒิบัตร) |
๕. | วันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๕ ผ่านการอบรมหลักสูตร การจัดทำการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation) รุ่นที่ ๑ | (เกียรติบัตร) |
๖. | วันที่ ๑๑ – ๑๒ มกราคม ๒๕๖๕ ผ่านการอบรมหลักสูตร การจัดทำสูตรตามแนวทาง OBE รุ่นที่ ๙ | (เกียรติบัตร) |
๗. | วันที่ ๑๙ – ๒๑ มกราคม ๒๕๖๕ ผ่านการอบรมหลักสูตร ตามเกณฑ์ AUN-QA at Programme Level version 4 | (เกียรติบัตร) |
๘. | วันที่ ๒๓ – ๒๕ มกราคม ๒๕๖๕ ผ่านการอบรมหลักสูตร ตามเกณฑ์ AUN-QA at Programme Level version 4 | (เกียรติบัตร) |
๙. | วันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ ได้ผ่านการอบรมการสร้างเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา | (วุฒิบัตร) |
๑๐ | วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมประชุมสัมมนาวิชาการเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนา PLOs สำหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา | (วุฒิบัตร) |
๑๑. | วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑๖ “Soft Power กับรัฐประศาสนศาสตร์ไทย” | (เกียรติบัตร) |
๑๒. | วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ได้เข้ารับการอบรม หลักสูตรจริยธรรมการวิจัยในคนสำหรับการวิจัยด้านสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ | (ประกาศนียบัตร) |