ประวัติ และผลงานของ รองศาสตราจารย์ ดร.ธัชชนันท์ อิศรเดช

รองศาสตราจาร์ ดร.ธัชชนันท์ อิศรเดช
Assoc.Prof.Dr.Thatchanan Issaradet

 

๑. วุฒิการศึกษา
ปีสำเร็จการศึกษา ระดับการศึกษา สถาบัน เอกสาร
พ.ศ. ๒๕๓๕ พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๕๙ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พ.ศ. ๒๕๓๘ M.A. (Political Scienc) Marathwada University, Aurangabad, INDIA
พ.ศ. ๒๕๖๕ นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พ.ศ. ๒๕๔๓ Ph.D.(Political Science) Marathwada University, Aurangabad, INDIA

 

๒. ตำแหน่งปัจจุบัน
     ก. ตำแหน่งทางวิชาการ/บริหาร
พ.ศ. ๒๕๔๘ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชารัฐศาสร์ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๑ รองศาสตราจารย์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๓ ผู้อำนวยการหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร  ณ วัดป่าประดู่ อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง
พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๘ ผู้อำนวยการหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร ณ วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี
พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าภาควิชานิติศาสตร์
พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑ ผู้อำนวยการหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการกองนิติการ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๑ – ปัจจุบัน ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป มจร (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๗ – ปัจจุบัน ผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ (PDF)
      ข. ตำแหน่งกรรมการประจำหน่วยงานใน มจร และภายนอก
พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๓ กรรมการสภาวิชาการ  
พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ เลขาธิการสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒ สมัย  
พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ กรรมการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ฝ่ายสมาชิก มจร ๒ สมัย  
พ.ศ. ๒๕๖๕ – ปัจจุบัน นายกสมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  

 

๓. ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และสิ่งตีพิมพ์
        ๑. ผลงานวิจัย
๑.๑
๑.๒
๑.๓
      ๒. ผลงานทางวิชาการ : ตำรา/หนังสือ
๒.๑ ธัชชนันท์ อิศรเดช. การจัดการสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘.
๒.๒ ธัชชนันท์ อิศรเดช. “การจัดการเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม” ใน พื้นฐานทางการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕.
๒.๓ ธัชชนันท์ อิศรเดช. “อำนาจและภาวะผู้นำเชิงพุทธ” ใน ทฤษฎีองค์การและการจัดการเชิงพุทธ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕.
๒.๔ ธัชชนันท์ อิศรเดช. “พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์” ใน การเมืองกับการปกครองของไทย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙.
๒.๕ ธัชชนันท์ อิศรเดช. ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. นครปฐม : ห้างหุ้นส่วนจำกัด สินทวีกิจ พริ้นติ้ง, ๒๕๕๙.
๒.๖ ธัชชนันท์ อิศรเดช.  แนวคิดทางการเมืองของนักคิดสำคัญในตะวันออก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๐.
๒.๗ ธัชชนันท์ อิศรเดช. ภาวะผู้นำทางการเมืองตามแนวพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๐.
๒.๘ ธัชชนันท์ อิศรเดช. “นิติปรัชญาสำนักประวัติศาสตร์และสำนักกฎหมายบ้านเมือง” ใน นิติปรัชญาแนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๒.
      ๓. สิ่งตีพิมพ์/บทความทางวิชาการ
๓.๑ ธัชชนันท์ อิศรเดช. “รูปแบบวัฒนธรรมองค์กรเพื่อความเป็นเลิศทางพุทธจริยธรรมของมหาวิทยาลัยสงฆ์”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (๒๕๖๐) : ๒๕๕ – ๒๖๘. (PDF)
๓.๒ ธัชชนันท์ อิศรเดช. “ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการกองทุนสัจจะออมทรัพย์ เพื่อความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชน ในจังหวัดระยอง”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (พิเศษ) (๒๕๖๐) : ๔๕๗ – ๔๗๓. (PDF)
๓.๓ ธัชชนันท์ อิศรเดช. “การพัฒนาภาวะผู้นาของพระสงฆ์เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน”. วารสาร มหาจุฬานาครทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๑๐๕ – ๑๒๑. (PDF)
๓.๔ ธัชชนันท์ อิศรเดช. “การส่งเสริมจิตสำนึกการเมืองภาคพลเมืองเพื่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของประชาชน อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๓) : ๔๗ – ๕๘. (PDF)
๓.๕ ธัชชนันท์ อิศรเดช. “แนวคิดทางการเมืองของขงเบ้งในวรรณกรรมสามก๊กที่มีต่อสังคมไทย”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๓) : ๒๒๓ – ๒๓๒. (PDF)
๓.๖ ธัชชนันท์ อิศรเดช และคณะ. “ชุมชนกับการจัดการปัญหาความเหลื่อมล้ำเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกรณีศึกษาชาวตำบลหนองสาหร่าย”. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๑ (พฤศจิกายน ๒๕๖๓) : ๓๗๕ – ๓๘๘. (PDF)
๓.๗ ธัชชนันท์ อิศรเดช. “การพัฒนาภาวะผู้นำของพระสงฆ์เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๑๐๕ – ๑๑๘.
๓.๘ ธัชชนันท์ อิศรเดช. “การพัฒนานวัตกรรมการส่งเสริมพฤติกรรมการเลือกตั้งของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง”. วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๒) : ๒๗ – ๔๘.
๓.๙ ธัชชนันท์ อิศรเดช, วสันต์ ลิ่มรัตนภัทรกุล.  “ชุมชนกับการจัดการปัญหาความเหลื่อมล้ำเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาชาวตำบลหนองสาหร่าย”, วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ วัดวังตะวันตก จังหวัดนครศรีธรรมราช. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๑ (พฤศจิกายน ๒๕๖๓) : ๓๗๕ – ๓๘๘.
๓.๑๐ ธัชชนันท์ อิศรเดช. “แนวทางและความเป็นไปได้ในการมอบอำนาจรัฐให้เอกชนออกคำสั่งทางปกครอง”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช, ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑๐ (ตุลาคม ๒๕๖๔) : ๒๔๕ – ๒๖๑.
๓.๑๑  ธัชชนันท์ อิศรเดช. “วัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล”, วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ วัดวังตะวันตก จังหวัดนครศรีธรรมราช. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม ๒๕๖๕) : ๔๘๒ – ๔๙๙.
        ๔. ผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติ
4.1 Phramah Boonlert Chuaythanee, Konit Srithong and Thatchanan Issaradet, Concept and Model of Cultural Politics, International Journal of Management and Economics, Vol. I No.25 September -2018. p.5-9. Chetan Publications Aurangabad- INDIA.
4.2 Thatchanan Issaradet and Phatraphol Jaiyen, The Leadership Development of Monks for the Preparedness of the ASEAN Community, Buddhacakra (Special Issues) : International Seminar, Buddhist Sihanouk Raja University Cambodia, March 27, 2021. p.303-315.
        Publication in SCOPUS
(1)  

 

๔. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร/การฝึกอบรม
๑. วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้เข้ารับการพัฒนาอบรม สัมมนาวิชาการเส้นทางสู่ตำแหน่งทางวิชาการ Road Map to Academic Positions (วุฒิบัตร)
๒. วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๖๔โครงการอบรมออนไลน์ “การวิจัยและพัฒนา (R & D) และเทคนิค ตัวอย่างการพัฒนา นวัตกรรมในงานวิจัยทางการศึกษา” จัดโดย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  ร่วมกับ หน่วยปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อสังคมไทย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (วุฒิบัตร)
๓. วันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๔  เข้ารว่มสัมมนาวิชาการ “คุณธรรมจริยธรรมของนักกฎหมายไทย” โครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตร “วันรพี” รำลึกพระกรุณาธิคุณพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ “บิดาแห่งกฎหมายไทย” (วุฒิบัตร)
๔. วันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๔ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรราการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริต โดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๒  เรื่อง หลักธรรมกับการขับเคลื่อนพลัง “บ-ว-ร” ต่อต้านการทุจริต จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และสำนักงาน ป.ป.ช. (วุฒิบัตร)
๕. วันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๕ ผ่านการอบรมหลักสูตร การจัดทำการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation)  รุ่นที่ ๑ (เกียรติบัตร)
๖. วันที่  ๑๑ – ๑๒ มกราคม ๒๕๖๕ ผ่านการอบรมหลักสูตร การจัดทำสูตรตามแนวทาง OBE รุ่นที่ ๙  (เกียรติบัตร)
๗. วันที่ ๑๙ – ๒๑ มกราคม ๒๕๖๕ ผ่านการอบรมหลักสูตร  ตามเกณฑ์ AUN-QA at Programme Level version 4  (เกียรติบัตร)
๘. วันที่ ๒๓ – ๒๕ มกราคม ๒๕๖๕ ผ่านการอบรมหลักสูตร  ตามเกณฑ์ AUN-QA at Programme Level version 4  (เกียรติบัตร)
๙. วันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ ได้ผ่านการอบรมการสร้างเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา (วุฒิบัตร)
๑๐ วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมประชุมสัมมนาวิชาการเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนา PLOs สำหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (วุฒิบัตร)
๑๑. วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑๖ “Soft Power กับรัฐประศาสนศาสตร์ไทย” (เกียรติบัตร)
๑๒. วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ได้เข้ารับการอบรม หลักสูตรจริยธรรมการวิจัยในคนสำหรับการวิจัยด้านสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ (ประกาศนียบัตร)