ประวัติ และผลงานของ พระมหาสุพัฒน์ นนฺทปญฺโญ, ดร.

พระมหาสุพัฒน์ นนฺทปญฺโญ, ดร.
Phramaha Supat Nandapañño, Dr.

 

๑. วุฒิการศึกษา
ปีสำเร็จการศึกษา ระดับการศึกษา สถาบัน เอกสาร
พ.ศ. ๒๕๕๐ นักธรรมชั้นเอก สำนักเรียนคณะจังหวัดนนทบุรี
พ.ศ. ๒๕๕๕ เปรียญธรรม ๔ ประโยค สำนักเรียนคณะจังหวัดนนทบุรี
พ.ศ. ๒๕๕๗ พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๕๘ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๖๔ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

 

๒. ตำแหน่งปัจจุบัน
     ก. ตำแหน่งทางบริหาร/ปฏิบัติหน้าที่
     ข. ตำแหน่งกรรมการประจำหน่วยงานใน มจร และภายนอก 
 

 

๓. ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และสิ่งตีพิมพ์
        ๑. ผลงานวิจัย
๑.
๒.
        ๒. ผลงานทางวิชาการ และสิ่งตีพิมพ์  
๑. พระมหาสุพัฒน์ นนฺทปญฺโญ และคณะ. (๒๕๖๓). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพพระสอนศีลธรรมของคณะสงฆ์ ภาค ๑”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๓) : ๑-๑๓. (PDF)
๒. พระมหาสุพัฒน์ นนฺทปญฺโญ และคณะ. (๒๕๖๖). “การประยุกต์หลักไตรสิกขาเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การบริหารส่วนตำบลปางหมู อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน”. วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๕ (กันายน – ตุลาคม ๒๕๖๖) (PDF)
๓. พระมหาสุพัฒน์ นนฺทปญฺโญ และคณะ. (๒๕๖๖). “ไทย-ลาว บนเส้นทางสายไหมแห่งอนุภูมิภาคลุ่มน้ําโขงอยุธยา หนองคาย นครหลวงเวียงจันทน์ หลวงพระบาง กรุงเทพมหานคร”. วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖ (พฤศจิกายน–ธันวาคม ๒๕๖๖) (PDF)
๔. พระมหาสุพัฒน์ นนฺทปญฺโญ และคณะ. (๒๕๖๗). “ประสิทธิผลการให้บริการประชาชนตามหลักพุทธธรรมขององค์การบริหารส่วนตำบลปากช่อง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์”วารสารวิชาการรัฐศาตร์และรัฐประศาสนศาสตร์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน ๒๕๖๗) (PDF)
๕. พระมหาสุพัฒน์ นนฺทปญฺโญ และคณะ.  “พุทธเศรษฐศาสตร์กับการพัฒนาที่ยั่งยืน”. สัมมนาวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑ เรื่อง “ปรัชญาลุ่มน้ำอิง : พุทธนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างสังคมสันติสุข”. ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา (PDF)
๖. พระมหาสุพัฒน์ นนฺทปญฺโญ และคณะ. (๒๕๖๗). “วัด : สถานที่ทิ้งขยะศักดิ์สิทธิ์และขยะมีชีวิต”. วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗) (PDF)

 

๔. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร/การฝึกอบรม
๑. วันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๕ ได้เข้าร่วมโครงการอภิปรายและเสวนาทางวิชาการออนไลน์ เรื่อง “แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษาภายใต้วัฒนธรรมดิจิทัล” (เกียรติบัตร)
๒. วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๕ ได้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ “เทคนิคการใช้งานคอมพิวเตอร์ ครั้งที่ ๒” (เกียรติบัตร)
๓. วันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๕ ได้เข้าร่วมกิจกรรมน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต ๑๓ ตุลาคม พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (เกียรติบัตร)
๔. วันที ๒๗ ตุลาคม ๒๕๖๕ ได้เข้าร่วมงานวันปิยมหาราชรำลึก ประจำปี ๒๕๖๕ และเสวนาทางวิชาการ เรื่อง “พระปิยะมหาราชกับการพลิกโฉมประเทศไทย” (เกียรติบัตร)
๕. วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการบริหารงานของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ (เกียรติบัตร)
๖. วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมโครงการอบรมการสื่อสารองค์กร และการประชาสัมพันธ์บนเทคโนโลยี Blockchain ด้วย NFT+Metaverse เพื่อการสร้างมูลค่าของแบรนด์ (เกียรติบัตร)
๗. วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมประชุมสัมมนาวิชาการเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การพัฒนา PLOs สำหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา” (วุฒิบัตร)
๘. วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑๖ “Soft Power กับรัฐประศาสนศาสตร์ไทย” (เกียรติบัตร)
๙. วันที่ ๑๗ – ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๖ ผ่านการอบรมโครงการพัฒนาศักยภาพการวิจัยสำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่ BRI NEWGEN รุ่นที่ ๑ (เกียรติบัตร)
๑๐. วันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๖ เข้าร่วมในการบรรยายพิเศษถอดบทเรียน “คุณภาพและการประเมินผลงานวิจัยเพื่อขอกำหนดแหน่งทางวิชาการ” (เกียรติบัตร)
๑๑. วันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๖ ได้ผ่านการอบรมโครงการอบรมพัฒนาสื่อการจัดการศึกษาเชิงรุก (MIND MAPPING) สำหรับพระสอนศีลธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ (เกียรติบัตร)
๑๒. วันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมงานครบรอบวันสถาปนา “๑๓๖ ปี มหาจุฬาฯ สร้างพุทธนวัตกรรม เพื่อพัฒนาจิตใจและสังคม” (เกียรติบัตร)
๑๓. วันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๖ ได้รับรางวัลเกียรติคุณ “การศึกษาดีเด่นแห่งปี ประจำปี ๒๕๖๖ สาขาการจัดการเรียนการสอนและสิ่งเสริมการศึกษามหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาดีเด่น” (เกียรติบัตร)