ประวัติ และผลงานของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี
Asst.Prof.Dr.Thitiwut Munmee

 

๑. วุฒิการศึกษา
ปีสำเร็จการศึกษา ระดับการศึกษา สถาบัน เอกสาร
พ.ศ. ๒๕๔๘ พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๕๑ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๕๗ พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย

 

๒. ตำแหน่งปัจจุบัน
     ก. ตำแหน่งทางวิชาการ/บริหาร
พ.ศ. ๒๕๔๙ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๓ – ปัจจุบัน รองหัวหน้าภาควิชารัฐศาสตร์ (PDF)
      ข. ตำแหน่งกรรมการประจำหน่วยงานใน มจร และภายนอก
พ.ศ. ๒๕๖๗-ปัจจุบัน กรรมการบริหารหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (PDF)

 

๓. ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และสิ่งตีพิมพ์
        ๑. ผลงานวิจัย
๑.๑ ธิติวุฒิ หมั่นมี,ดร. “การศึกษาเปรียบเทียบสถานะองค์ความรู้สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยกับสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์”, ๒๕๕๕.
๑.๒ ธิติวุฒิ หมั่นมี,ดร. “ประเมินหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์และสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ”, ๒๕๕๖.
๑.๓ ธิติวุฒิ หมั่นมี,ดร. “คุณลักษณะของบัณฑิตที่มีผลต่อการจ้างงานของบัณฑิตหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธและสาขาวิชารัฐประศาสนศษสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย”, ๒๕๕๗.
๑.๔ ธิติวุฒิ หมั่นมี,ดร. “การจัดการทุนมนุษย์เพื่อส่งเสริมจริยธรรมคุณธรรมของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น”. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙.
      ๒. ผลงานทางวิชาการ : ตำรา/หนังสือ
๒.๑ ผศ.ดร. ธิติวุฒิ หมั่นมี. การจัดการทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗.
๒.๒ ผศ.ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี. การพัฒนาองค์กร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗.
๒.๓ ผศ.ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี. รัฐประศาสนศาสตร์ในพระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗
๒.๔ ผศ.ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี. ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗.
๒.๕ ผศ.ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี. พื้นฐานรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗.
๒.๖ ผศ.ดร.ธิติวุฒิ หมันมี. ทฤษฎีองค์การและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗.
๒.๗ ผศ.ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี. ภาวะผู้นำทางการจัดการเชิงพุทธ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๘.
๒.๘ ผศ.ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี. การบริหารกิจการคณะสงฆ์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙.
๒.๙ ผศ.ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี. องค์การและกรจัดการสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๕
๒.๑๐ ผศ.ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี. การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๕
๒.๑๑ ผศ.ดร. ธิติวุฒิ หมั่นมี. นวัตกรรมการบริหารท้องถิ่นไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๕
๒.๑๒ ผศ.ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี. การบริหารการคลังและงบประมาณภาครัฐ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๕
๒.๑๓ ผศ.ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี. วิทยาการบริหาร Mangment Scieace. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๓
๒.๑๔ ผศ.ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี. รัฐประศาสนศาสตร์ในพระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๒
      ๓. สิ่งตีพิมพ์/บทความทางวิชาการ
๓.๑ ธิติวุฒิ หมั่นมี. “ภาวะผู้นำการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น”. วารสารมจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๓  (กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๑) : ๒๙๘ – ๓๑๔. (PDF)
๓.๒ ธิติวุฒิ หมั่นมี. “การพัฒนาวัดให้เป็นศูนย์กลางชุมชนวิถีพุทธของพระสังฆาธิการในจังหวัดกาญจนบุรี”.  วารสารมจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๓  (กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๑) : ๓๘ – ๔๙.
๓.๓ ธิติวุฒิ หมั่นมี และคณะ. “จริต ๖ ทฤษฎีการประสานงานของพระพุทธเจ้า”. วารสารสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) : ๒๙ – ๔๔. (PDF)
๓.๔ ธิติวุฒิ หมั่นมี และคณะ. “กลไกการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยไตรสิกขา”. วารสารสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) : ๕๗ – ๖๗. (PDF)
๓.๕ ธิติวุฒิ หมั่นมี และคณะ. “สัปปุริสธรรมทฤษฎีการบริหารตนเอง”. วารสารสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) : ๖๙ – ๗๖. (PDF)
๓.๖ ธิติวุฒิ หมั่นมี และคณะ. “ไตรลักษณ์กับกระบวนการพัฒนาชุมชน”. วารสารสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) : ๙๑ – ๑๐๐. (PDF)
๓.๗ ธิติวุฒิ หมั่นมี และคณะ. “บริหารจัดการคณะสงฆ์ไทยอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ”. วารสารสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) : ๑๐๑ – ๑๑๕. (PDF)
๓.๘ ธิติวุฒิ หมั่นมี และคณะ. “อิทธิพลของพุทธศาสนาที่มีต่อการบริหารจัดการ”. วารสารสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) : ๑๑๗ – ๑๒๕. (PDF)
๓.๙ ธิติวุฒิ หมั่นมี และคณะ. “รัฐธรรมนูญไทยสู่การปฏิวัติการบริหารงานท้องถิ่นไทย”. วารสารสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) : ๑๒๗ – ๑๓๗. (PDF)
๓.๑๐ ธิติวุฒิ หมั่นมี และคณะ. “การบริหารงานตามหลักอปหานิยธรรม”. วารสารสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) : ๑๓๙ – ๑๔๗. (PDF)
๓.๑๑ ธิติวุฒิ หมั่นมี และคณะ. “การพัฒนาบุคลากรต้นแบบของการพัฒนาองค์กร”. วารสารสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) : ๑๔๙ – ๑๕๘. (PDF)
๓.๑๒ ธิติวุฒิ หมั่นมี และคณะ. “ภาวะผู้นำในการบริหารองค์กรยุค ๔.๐”. วารสารสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๑ – ๑๓. (PDF)
๓.๑๓ ธิติวุฒิ หมั่นมี และคณะ. “สื่อออนไลน์บ่อเกิดของปัญหาสังคม : การบริหารสติคือทางออก”. วารสารสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๒๕ – ๓๓. (PDF)
๓.๑๔ ธิติวุฒิ หมั่นมี และคณะ. “หลักสัปปุริสธรรมกับการแก้ไขวิกฤติปัญหาสังคม”. วารสารสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๕๑ – ๖๕. (PDF)
๓.๑๕ ธิติวุฒิ หมั่นมี,ดร. “การสร้างความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น”. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒. (ตุลาคม ๒๕๕๗) : ๙๓ – ๑๐๕. (PDF)
        ๔. ผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติ
4.1 Thitiwut Munmee. Asst. Prof. Dr. (Co-writer). Senior Citizen Well Being Administration.  Proceeding International Conference on Humanities, Language, Culture & Business, (2nd ICoHLCB) 22-23 April 2017, Hotel De’La Ferns, Cameron Highlands Pahang, Malaysia ISBN: 978-967-14835-1- (PDF)
4.2 Thitiwut Manmee.  “The Management of Buddhist Charity Schools Monastery in Thailand”.  The 6th International Conference on Language, Education, Humanities and Innovation 2017 –Singapore. (6th ICLEHI Singapore) 22-23 April 2017, Royal Plaza on Scotts Hotel, Singapore. pp.215-219. (PDF)
4.3 ThitiWut Manmee. “Education Reforn in Thailand 4.0 : A True Story or a Soap Opera” . A Sian Political Science Review. Volume 2 Number 2 (July-December 2018), pp.88-96. (PDF)
4.4 ThitiWut Manmee. “Buddhism Doctrine Organization Management” .  A Sian Political Science Review. Volume 2 Number 2 (July-December 2018), pp.123-132. (PDF)
        Publication in SCOPUS
(1)  

 

๔. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร/การฝึกอบรม
๑. วันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๒ เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลาด้านการวิจัย ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ “การพัฒนางานวิจัยของมหาวิทยาลัย ภายใต้การทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และวัตกรรม (อว.)” (เกียรติบัตร)
๒. วันที่ ๒๗ – ๒๘ มีนาคม ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการอบรมคู่มือทำดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ ณ สิริ รีเวอร์ เพลส (เกียรติบัตร)
๓. วันที่ ๘ เมษายน ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมในการประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุม (Proceedings) ๔ (เกียรติบัตร) 
๔. วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาและฝึกอบรม ภายใต้การสัมมนาวิชาการ หัวข้อ สื่อสารอย่างไร จึงโดนใจเด็กเยาวชนรุ่นใหม่ในยุคโควิด (วุฒิบัตร)
๕. วันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมความรู้ ในหัวข้อเรื่อง การพัฒนารูปแบบสื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตร (เกียรติบัตร)
๖. วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศนิสิตใหม่ “หัวใจนักพัฒนา” ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ (เกียรติบัตร)
๗. วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมสัมมนาทางวิชาการ “บทเรียนปรัชญา มจร ครั้งที่ ๑ : สอนปรัชญาอย่างไรให้เข้าถึงสาระ” (วุฒิบัตร)
๘. วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้เข้ารับการพัฒนาอบรม หัวข้อ เส้นทางสู่ตำแหน่งทางวิชาการ (วุฒิบัตร)
๙. วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้เข้ารับการพัฒนาอบรมสัมมนาวิชาการเส้นทางสู่ตำแหน่งทางวิชาการ Road Map to Academic Positions (วุฒิบัตร)
๑๐. วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมรับการอบรมหัวข้อ “การวิจัยและพัฒนา และการพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยทางการศึกษา” จัดโดยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ร่วมกับหน่วยปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อสังคมไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย  (วุฒิบัตร)
๑๑. วันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้ผ่านการสัมมนานวิชาการ  เรื่อง “คุณธรรมจริยธรรมของนักกฏหมายไทย” จัดโดย หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช (วุฒิบัตร)
๑๒. วันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “เทคนิคการส่งบทความเข้าระบบวารสารของศูนย์วิจัยธรรมศึกษา” จัดโดย สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ร่วมกับศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม (เกียรติบัตร)
๑๓. วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรราการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริต โดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๑ เรื่อง เสริมพลังการมีส่วนร่วมของศาสนบุคคลขับเคลื่อนพลัง “บ-ว-ร” ต่อต้านการทุจริต จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และสำนักงาน ป.ป.ช.
๑๔. วันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรราการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริต โดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๒  เรื่อง หลักธรรมกับการขับเคลื่อนพลัง “บ-ว-ร” ต่อต้านการทุจริต จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และสำนักงาน ป.ป.ช.
๑๕. วันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรณาการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริตโดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรด้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๓ เรื่อง “สร้างพลเมืองไทยในอนาคต ร่วมต่อต้านการทุจริต” (วุฒิบัตร)
๑๖. วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรณาการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริตโดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรด้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๔ เรื่อง “หลักธรรมกับการขับเคลื่อนพลังพหุวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต” (วุฒิบัตร)
๑๗. วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๖๔ เข้าร่วมโครงการเทคนิคการเขียนข้อเสนิโคงการวิจัยให้ได้ทุน ได้ผลงานวิชาการและได้บริกรวิชาการแก่ชุมชน (เกียรติบัตร)
๑๘. วันที่ ๓ กันยายน ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรณาการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริตโดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรด้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๕ เรื่อง “ปลูกและปลุกพลัง บ ว ร ต่อต้านทุจริต” (วุฒิบัตร)
๑๙. วันที่ ๙-๑๐ กันยายน ๒๕๖๔ ได้เข้ารับร่วมการพัฒนาอบรมในโครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตร ปี ๒๕๖๔ เรื่อง “คณะสังคมศาสตร์กับการเป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักศาสนา” (วุฒิบัตร)
๒๐. วันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๖๔ ได้เข้ารับร่วม การพัฒนาอบรมในโครงการพัฒนาหลักสูตรตามเกณฑ์มาตราฐานระดับปริญญาตรี “การพัฒนาหลักสูตร Non – Degree (หลักสูตรระยะสั้น) ด้านสังคมศาสตร์” (วุฒิบัตร)
๒๑. วันที่ ๑๓ กันยนยน ๒๕๖๔ งานครบรอบวันสถาปนา “๑๓๔ ปี มหาจุฬาฯ พัฒนาปัญญาและคุณธรรม นำสังคมสู่สันติสุข” (เกียรติบัตร)
๒๒. วันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมสัมนาประจำปี หัวข้อ การสร้างความพร้อมในการเปิดเมืองหลังสถานการณ์โควิด-๑๙ (เกียรติบัตร)
๒๓. วันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมความรู้ (ออนไลน์) ครั้งที่ ๓ “เตรียมความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ : การพยากรณ์ของนักประชากรศาสตร์” จัดโดย ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มจร (เกียรติบัตร)
๒๔. วันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมการปรชุมพระสังฆาธิการ ตามมติมหาเถรสมาคมของคณะพระสงฆ์จังหวัดนครสวรรค์ เรื่อง “ทิศทางการศึกษาคณะสงฆ์ในยุค New Nomal” (เกียรติบัตร)
๒๕. วันที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วม “วันสมเด็จพระปิยมหาราชรำลึก ประจำปี ๒๕๖๔” (เกียรติบัตร)
๒๖. วันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมงาน “๑๑๘ ปี ชาตกาล เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์” (เกียรติบัตร)
๒๗. วันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๖๔ ได้ผ่านการสัมมนาวิชาการเรื่อง “มหาวิทยาลัยสงฆ์กับการพัฒนาปัญญาและคุณธรรม” งานประสาทปริญญา วันที่ ๘ – ๑๒ ธันวาคม ปี ๒๕๖๔ (เกียรติบัตร)
๒๘. วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมสัมมนาวิชาการ “ความเชื่ออายุพระพุทธศาสนา ๕,๐๐๐ ปี” (เกียรติบัตร)
๒๙. วันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๖๔  ได้เข้าร่วมฟังบรรยายพิเศษเรื่อง “การบริหารการพัฒนาในยุค Disruption” รายวิชา การบริหารการพัฒนา (เกียรติบัตร)
๓๐. วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖๔ ได้ผ่านการสัมมนาวิชาการ “เหลียวหลังแลหน้ารัฐธรรมนูญ ๒๕๖๐” โครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมสัมนาทางวิชาการเนื่องในวันรัฐธรรมนูญ (วุฒิบัตร)
๓๑. วันที่ ๑๙ – ๒๑ มกราคม ๒๕๖๕ เข้าอบรมหลักสูตรพัฒนาผู้ประเมินฯ ระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์ AUN-QA at Programme Level version 4 รุ่น ๓ (เกียรติบัตร)
๓๒. วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ ได้ผ่านการอบรมออนไลน์ โครงการให้ความรู้เรื่อง EdPEx ระดับคณะและมหาวิทยาลัย (วุฒิบัตร)
๓๓. วันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๕ ได้เข้าร่วมสัมมนาวิชาการเรื่อง “วิกฤตศรัทธาในยุค New Normal” (เกียรติบัตร)
๓๔. วันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๖๕ ได้เข้าร่วมโครงการเสวนาพุทธอาเซียน (ออนไลน์) หัวข้อ “ชีพจร ASEAN : เศรษฐกิจ การเมือง สังคมวัฒนธรรม” (เกียรติบัตร)
๓๕. วันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ได้เข้าร่วมโครงการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม เนื่องในงานครบรอบ ๑๐๐ ปี ชาตกาลพระราชรัตนโมลี (นคร เขมปาลี, Ph.D.) (เกียรติบัตร)
๓๖. วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ ได้เข้าร่วมโครงการเสวนาทางวิชาการ “การเมืองไทยยุคใหม่” (เกียรติบัตร)
๓๗. วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๖ เข้าร่วมกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส่ในการบริหารงานของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ (เกียรติบัตร)
๓๘. วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑๖ “Soft Power กับรัฐประศาสนศาสตร์ไทย” (เกียรติบัตร)
ปีการศึกษา ๒๕๖๗  
๑. วันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๗ ได้เข้าร่วมโครงการ Upskills เทคนิคการสอนในยุค Digital (เกียรติบัตร)