พระครูสุธีกิตติบัณฑิต, รศ.ดร.
Phrakhrusuthikittitbundit, Assoc.Prof.Dr.
๑. วุฒิการศึกษา | |||
ปีสำเร็จการศึกษา | ระดับการศึกษา | สถาบัน | เอกสาร |
พ.ศ. ๒๕๔๖ | นักธรรมชั้น เอก | สำนักเรียนคณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา | |
พ.ศ. ๒๕๕๐ | เปรียญธรรม ๖ ประโยค | สำนักเรียนคณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา | |
พ.ศ. ๒๕๕๔ | พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ (เกียรตินิยมอันดับ ๑) | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | |
พ.ศ. ๒๕๕๕ | พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | |
พ.ศ. ๒๕๕๘ | พุทธศาสตรมดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | |
พ.ศ. ๒๕๖๖ | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | (PDF) |
๒. ตำแหน่งปัจจุบัน | ||
ก. ตำแหน่งทางวิชาการ/บริหาร | ||
พ.ศ. ๒๕๖๑ | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๖๖ | รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาบริหารธุกิจ | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ | เลขานุการหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๖๔ – ปัจจุบัน | ผู้อำนวยการหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๖๔ – ปัจจุบัน | กองบรรณาธิการวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ | |
พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๕ | รองคณบดีคณะสังคมศาสตร์ฝ่ายวิชาการ | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๖๖ | รักษาการแทนผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๖๖ – ปัจจุบัน | บรรจุและแต่งตั้งเป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย ประเภทวิชาการ | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๖๖ – ปัจจุบัน | ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๖๗ – ปัจจุบัน | ที่ปรึกษาหัวหน้าภาควิชานิติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๖๗ – ปัจจุบัน | ที่ปรึกษาหัวหน้าภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ | (PDF) |
ข. ตำแหน่งกรรมการประจำหน่วยงานใน มจร และภายนอก | ||
พ.ศ. ๒๕๖๖ – ปัจจุบัน | กรรมการสภาวิชาการ | |
พ.ศ. ๒๕๖๗ – ปัจจุบัน | กรรมการบริหารหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | (PDF) |
๓. ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และสิ่งตีพิมพ์ | ||
๑. ผลงานวิจัย | ||
๑.๑ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ดร. หัวหน้าโครงการวิจัย. “การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ด้วยการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. | (PDF) |
๑.๒ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ดร. หัวหน้าโครงการวิจัย. “กลยุทธ์การบริหารองค์กรสงฆ์ที่เข้มแข็งในยุคโลกาภิวัฒน์”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. | (PDF) |
๑.๓ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ดร. “พุทธบูรณาการเพื่อการบริหารจัดการศาสนสมบัติของวัดในพระพุทธศาสนา”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. | (PDF) |
๑.๔ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ดร. ผู้ร่วมวิจัย. “กลไกการบริหารจัดการการท่องเที่ยวในชุมชนผ่านมิติศาสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. | (PDF) |
๑.๕ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ดร. ผู้ร่วมวิจัย. “กลไกการขับเคลื่อนศักยภาพขีดความสามารถของผู้สูงอายุโดยบูรณาการหลักพุทธธรรม”. รายงานการวิจัย. ทุนมุ่งเป้า สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา | (PDF) |
๑.๖ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ดร. ผู้ร่วมวิจัยฃ. “กลไกการพัฒนาส่งเสริมสุขภาวะโดยการยกระดับจิตการพึ่งตนเองของแกนนำผู้สูงอายุพุทธธรรม ในการเสริมสร้างศักยภาพขีดความสามารถของผู้สูงอายุติดเตียง”. รายงานการวิจัย. ทุนมุ่งเป้า สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา | (PDF) |
๑.๗ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ดร. “รูปแบบการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับวัยรุ่นไทยยุคใหม่ตามหลักพุทธธรรม ผ่านกลไกการขับเคลื่อนโครงการคลีนิกคุณธรรมของพระธรรมวิทยากร”. รายงานการวิจัย. งบประมาณสนับสนุนประจำปี ๒๕๖๑ สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. | (PDF) |
๑.๘ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ, ผศ.ดร. “การพัฒนาศักยภาพและโอกาสของคนรุ่นใหม่ในการออกแบบอนาคตชุมชนเชิงสร้างสรรค์”. งบประมาณสนับสนุนประจำปี ๒๕๖๓ สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. | (PDF) |
๑.๙ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ, ผศ.ดร. “พลังบวรพิทักษ์คลองกระทิง : การเสริมสร้างเครือข่ายทางสังคมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัดสมุทรสงคราม”. งบประมาณสนับสนุนประจำปี ๒๕๖๓ สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) | (PDF) |
๑.๑๐ | รศ.ดร.สุรินทร์ นิยมางกูร,พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ผศ.ดร. และคณะ. “อิทธิพลของแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน การเห็นคุณค่าในตนเอง และอิทธิบาทธรรมที่มีต่อ ความสุขในการทํางานของบุคลากรสายปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย”. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. | (PDF) |
๒. ผลงานทางวิชาการ : ตำรา/หนังสือ | ||
๒.๑ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ดร. หนังสือการใช้งานระบบทะเบียนออนไลน์ สำหรับบุคลากรสำนักทะเบียนและวัดผล. สำนักทะเบียนและวัดผล : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๘ | (PDF) |
๒.๒ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ดร. เอกสารประกอบการสอน การจัดโครงการขั้นสูง : Advance Project Management (๖๑๔ ๒๐๘). ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙. | (PDF) |
๒.๓ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ, ดร. และคณะ. คู่มือนิสิตปริญญาตรี. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๐. | (PDF) |
๒.๔ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ, ผศ.ดร.. ระเบียบวิธีวิจัยทางการจัดการเชิงพุทธ. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๓. | (PDF) |
๓. สิ่งตีพิมพ์/บทความทางวิชาการ |
||
๓.๑ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. “การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ด้วยการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๓ (กันยายน – ธันวาคม ๒๕๕๙) : ๕๕ – ๖๒. | (PDF) |
๓.๒ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. (เขียนร่วม). “พระพุทธศาสนาในจีน ทิเบต เวียดนาม ญี่ปุ่น : มองผ่านงานพระศรีคัมภีรญาณ”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๙) : ๒๖๓ – ๒๗๘. | (PDF) |
๓.๓ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. “การจัดการความขัดแย้งในระบบวรรณะ ของ ดร.เอ็มแบดการ์, วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ ฉบับพิเศษ (พฤษภาคม ๒๕๖๐) : ๕๕๓ – ๕๖๓. | (PDF) |
๓.๔ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. [เขียนร่วม] “วิ่งตามฝันยังไงก็ชนะ (8 วิธี ‘วิ่งคว้าฝัน’ สไตล์คน ‘ญี่ปุ่น’) Follow the Dream to Win : 8 Ways, Run, to Dream, Acording to Japanese Style”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๖๐) : ๒๕๐ – ๒๖๔. | (PDF) |
๓.๕ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. “กลยุทธ์การบริหารองค์กรสงฆ์ที่เข้มแข็งในยุคโลกาภิวัฒน์”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๑) : ๙๙ – ๑๑๕. | (PDF) |
๓.๖ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. “สิ้นแสงฉาน: TWILIGHT OVER BURMA, MY LIFE AS A SHAN PRINCESS”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๑) : ๒๙๕ – ๓๑๓. | (PDF) |
๓.๗ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. (เขียนร่วม). “กลไกการบริหารจัดการการท่องเที่ยวในชุมชน ผ่านมิติศาสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ ฉบับพิเศษ (เมษายน – มิถุนายน. ๒๕๖๑) : ๑๑๔ – ๑๒๔. | (PDF) |
๓.๘ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. (เขียนร่วม). “พุทธบูรณาการเพื่อการบริหารจัดการศาสนสมบัติของวัดในพระพุทธศาสนา” . วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ ฉบับพิเศษ (เมษายน – มิถุนายน. ๒๕๖๑) |
(PDF) |
๓.๙ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. (เขียนร่วม). “รัฐกับศาสนา : ศีลธรรม อำนาจ และอิสรภาพความขัดกันภายใต้ความเป็นอื่น ความรุนแรงจากรัฐสู่ศาสนา”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๒๗๓ – ๒๙๑. | (PDF) |
๓.๑๐ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. (เขียนร่วม). “ตอบเรื่อง พ.ร.บ. คณะสงฆ์ : กลไกการบริหารและแก้ปัญหาคณะสงฆ์ บทสรุปที่ยังไม่มีทางออก ?”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๑) : ๓๑๕ – ๓๒๘. | (PDF) |
๓.๑๑ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. (เขียนร่วม). “การบริหารการเงินของวัดในประเทศไทย : ความสอดคล้องตามหลักธรรมาภิบาลทิศทางการบริหารเงินวัด ทรัพย์สินพระศาสนาในช่วงกระแสเปลี่ยนผ่าน” . วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (ฉบับพิเศษเนื่องในวันวิสาขบูชา) (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๒๗๓ – ๒๙๑. | (PDF) |
๓.๑๒ | พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. (นักวิจัยร่วม-บทความวิจัย). “กลไกการขับเคลื่อนศักยภาพขีดความสามารถของผู้สูงอายุโดยบูรณาการหลักพุทธธรรม”. วารสารสหวิทยาการวิจัย. ฉบับบัณฑิตศึกษา ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๒) : ๒๖ – ๓๒. | (PDF) |
๓.๑๓ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร. (เขียนร่วม). “ผู้สูงอายุต้นแบบตามแนวพุทธ: กรณีศึกษาหลวงพ่อวัดบางเบิด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์”. วารสารวิชาการสถาบันพัฒนาพระวิทยากร. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๑) | (PDF) |
๓.๑๔ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร.. “เซเปียนส์ ประวัติย่อมนุษยชาติ Sapiens A Brief History of Humankind”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๒). | (PDF) |
๓.๑๕ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ผศ.ดร.. “ถอดบทเรียนจากพื้นที่ : การดูแลผู้สูงอายุตามแนวพุทธในจังหวัดสมุทรปราการ”. วารสารวิจยวิชาการ. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน ๒๕๖๒) : ๑๔๖ – ๑๖๙. | (PDF) |
๓.๑๖ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร.. “การพัฒนาบทบาทพระสงฆ์ในการส่งเสริมโครงการ ตลาดประชารัฐเพื่อประชาชน ในกรุงเทพมหานคร”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๒) : ๑ – ๑๒. | (PDF) |
๓.๑๗ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร.. “รูปแบบการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับวัยรุ่นไทยยุคใหม่ตามหลักพุทธธรรม ผ่านกลไกการขับเคลื่อนโครงการคลินิกคุณธรรมของพระธรรมวิทยากร”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๒) : ๕๙ – ๗๐. | (PDF) |
๓.๑๘ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร.. “ภาวะผู้นำในการปกครองคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการ อำเภอ บางบาลจังหวัด พระนครศรีอยุธยา”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มีนาคม ๒๕๖๒) : ๘๔ – ๙๕. | (PDF) |
๓.๑๙ | .พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร.. “การสื่อสารเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (พิเศษ/เนื่องในวันวิสาบูชาโลก) (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๔๐๕ – ๔๑๘. | (PDF) |
๓.๒๐ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร.. “การจัดการสิ่งแวดล้อมภายในวัดของพระสังฆาธิการในอําเภอวังน้อยจังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (พิเศษ/เนื่องในวันวิสาบูชาโลก) (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๓๐๑ – ๓๐๙. | (PDF) |
๓.๒๑ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร.. “บทบาทของพระสังฆาธิการในการช่วยเหลือเกื้อกูลประชาชน อําเภอวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (พิเศษ/เนื่องในวันวิสาบูชาโลก) (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๒๔๖ – ๒๕๕. | (PDF) |
๓.๒๒ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร. [เขียนร่วม]. “รัฐประศาสนศาสตร์เปลี่ยนโลก”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๒) | (PDF) |
๓.๒๓ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร. [เขียนร่วม]. “จากดินสู่ฟ้า นัยนา…ลาลับสู่สวรรค์สรรนิพนธ์ว่าด้วยผู้หญิงที่ชื่อนัยนา เกิดวิชัย ครู ต้นแบบและ ผู้สร้าง แรงบันดาลใจ”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๖๒) : ๓๑๙ – ๓๓๙. | (PDF) |
๓.๒๔ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ผศ.ดร. [เขียนร่วม]. “การจัดการเชิงพุทธ 5 G MONASTERY MANAGEMENT”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๒) : ๒๙๘ – ๓๐๙. | (PDF) |
๓.๒๕ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร. [เขียนร่วม]. “แนวคิด หลักปฏิบัติในพระพุทธศาสนา : เพื่อพัฒนาให้เป็นกลไกในการ พัฒนาสุขภาวะแบบองค์รวมในผู้สูงอายุ”. Proceeding เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๓ จัดทําโดย หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๒) : ๑๗๑ – ๒๐๕. | (PDF) |
๓.๒๖ | พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร. [เขียนร่วม]. “ธุดงค์ธรรมยาตราครั้งที่ ๘ จังหวัดระยอง : กระบวนการพัฒนาเจตคติตามคติของธุดงค์วัตรในพระพุทธศาสนา”. วารสารพุทธศาสน์เพื่อสันติ. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน ๒๕๖๓) | (PDF) |
๔. ผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติ |
||
4.1 | Phramaha Krisada Saelee,Ph.D. , (Co-writer). joined to present the article “Organization Management for Learning Organization in the Cognitive Constructivism Based” on GRDS International Conference-11th International Conference on Social Science and Humanities, 19-20 September 2016, Imperial College London, South Kensington Campus | London | (PDF) |
4.2 | Phramaha Krisada Saelee,Ph.D. (Co-writer). “The Holy Phra Bang History : Buddhist Perpetuity Heritage”, Proceeding International Conference on Humanities, Language,Culture & Business, (2nd ICoHLCB) 22-23 April 2017,Hotel De’La Ferns, Cameron Highlands Pahang, Malaysia ISBN: 978-967-14835-1-0 pp.188-190. | (PDF) |
4.3 | PhramahaKissada Kittisopano (Sea-Lee). Ph.D. “Conflict Management in Caste System of Dr.Embedkar”, Proceeding International Conference on Humanities, Language,Culture & Business, (2nd ICoHLCB) 22-23 April 2017,Hotel De’La Ferns, Cameron Highlands Pahang, Malaysia ISBN: 978-967-14835-1-0. pp.179-183. | (PDF) |
4.4 | Anuwat Krasang, Prasert Thilao, Phramaha Krisada Kittisobhano. “Wisdom Leadership Development of Sangha in Thailand”. Journal of Modern Education Review. ISSN 2155-7993, USA October 2017, Volume 7, No. 10, pp. 698–702. | (PDF) |
Publication in SCOPUS |
||
(1) | Phramaha Krisada Saelee, Boonton Dockthaisong. “The Development of Buddhist Places for Elderly People Care Center Settlement in Thailand”. |Solid State Technology| Vol. 63 No. 2s (2020)| pp.1569 – 1575 | (PDF) |
(2) | Phramaha Krisada Saelee, Boonton Dockthaisong. “Elderly Persons’ Potential Capacity Driving Mechanism through Buddhism Integration”. |Solid State Technology| Vol. 63 No. 2s (2020)|pp.1417 – 1423. | (PDF) |
(3) | Phramaha Krisada Saelee, Phra Udomsittinayok. “Strategies of Ethic and Morality Indoctrination in Schools of Buddhist Teaching Monks Current Situation of Thai Children and Youth”. |Solid State Technology| Vol. 63 No. 2s (2020)|pp.2050 – 2057. | (PDF) |
(4) | Phramaha Krisada Saelee, Phraudomsittinayok Malai. “Development of Activities for Health Being Promotion and Social Network for Reducing Alcohol Smoking Cessation according to Buddhist Integration in Nonthaburi Province”. |Solid State Technology| Vol. 63 No. 2s (2020)| pp.1953 – 1961. | (PDF) |
๔. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร/การฝึกอบรม | ||
๑. | วันที่ ๔ – ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๙ อบรมหลักสูตรการพัฒนานักวิจัย (Training for the Trainers) รุ่นที่ ๑๒ โดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยศิลปากร ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร จ.นครปฐม | (วุฒิบัตร) |
๒. | วันที่ ๓ – ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐ อบรมการสร้างสื่ออิเล็กทรอนกส์มาตรฐาน EPUB3 โครงการการประกวดสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาตรฐาน EPUB 3 ครั้งที่ ๒ จัดโดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา | (วุฒิบัตร) |
๓. | วันที่ ๑๙ – ๒๑ สิงหาคม ๒๕๖๐ ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำข้อสอบกลาง ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมไร่กุสุมารีสอร์ท อำเภิมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี | (วุฒิบัตร) |
๔. | วันที่ ๒ – ๓ ตุลาคม ๒๕๖๐ ประชุมพัฒนาชุดโครงการวิจัยปี ๒๕๖๒ ณ ห้องปฏิบัติการวิจัย ชั้น G โดยสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | (วุฒิบัตร) |
๕. | วันที่ ๒๑ – ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๑ เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาผู้จัดการงานวิจัย” (Research Manager: RM) รุ่นที่ ๑๕ ณ ชั้น ๓ ห้องบุหลันพิทักษ์พล อาคารอมรภูมิรัตน สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | (วุฒิบัตร) |
๖. | วันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ ผ่านการรับรองเป็น “วิทยากรหลักสูตรการพัฒนานักวิจัย” ภาคบรรยาย หมาวดที่ ๖ หลักการเขียนข้อเสนอการวิจัย และหลักการประยุกต์งานวิจัยและนวัตกรรมไปสู่การใช้ประโยชน์” โดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ณ ห้องเวิลด์บอลรูม ชั้น ๒๓ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ ในงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ ๒๕๖๑ (Thailand Research Expo 2018) “วิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” | (เกียรติบัตร) |
๗. | วันที่ ๒๖ – ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาศักยภาพการวิจัยทางพระพุทธศาสนา เพื่อความก้าวหน้าในประชาคมอาเซียน เรื่อง “การพัฒนาโจทย์วิจัยเพื่อพิชิตทุนวิจัยและนวัตกรรม” จัดโดยศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | (วุฒิบัตร) |
๘. | วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๒ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์บทความ ในการประชุมวิชาการระดับชาติ มจร ครั้งที่ ๓ (MCU Congress 3) จัดโดยหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ภาควิชารัฐศาสตร์ และคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ภายใต้หัวข้อ “#นวัตกรรมทางการปกครองและการบริหารในยุคไทยแลนด์ ๔.๐ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัด พระนครศรีอยุธยา | (เกียรติบัตร) |
๙. | วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๔ ผ่านการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการสัมนาเครือข่ายวารสาร แนวทางการพัฒนาวารสารวิชาการ (TCI) เพื่อยกระดับวารสารสู่ฐานนานาชาติและการพัฒนาผู้เขียนบทความ. จัดโดยศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) และวารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. ณ วัดวังตะวันตก จังหวัดนครศรีธรรมราช. | (เกียรติบัตร) |
๑๐. | วันที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๔ อบรม “ทักษะความรู้การใช้โปรแกรมสำหรับการเรียนการสอนในระบบออนไลน์” ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ | (วุฒิบัตร) |
๑๑. | วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ร่วมเสนอผลงานทางวิชาการ และร่วมประชุมในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๓ (Online) นหัวข้อเรื่อง “#พุทธศาสนาและปรัชญา : แนวคิด มุมมอง สังคมยุคหลังโควิด 19″ (Buddhism and Philosophy : Concept and Perspective of the Post-COVID-19 Society) (Online) โดย #คณะศาสนาและปรัชญา #มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มมร จ.นครปฐม |
(เกียรติบัตร) |
๑๒. | 31st May 2020 CHULA MCOC This is to certify that Phramaha Krisada Saelee has successfully completed the open online non-credit course HRM From Theories to Practices |
(วุฒิบัตร) |
๑๓. | วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ Road Map to Academic Positions กิจกรรมบริการวิชาการและบริการสังคมหลักสูตรสันติศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หัวข้อ เรื่อง สัมมนาวิชาการเส้นทางสู่ตำแหน่งทางวิชาการ Road Map to Academic Positions | (วุฒิบัตร) |
๑๔. | วันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๖๔ ผ่านการอบรมออนไลน์ หลักสูตรของ Thai MOOC แพลตฟอร์มเพื่อการเรียนรู้ออนไลน์ตลอดชีวิต กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมการเรียนออนไลน์ตามเกณฑ์การวัดผลในรายวิชา การสรรหาและคัดเถือกบุคลากร (๖ ชั่วโมงการเรียนรู้) พัฒนารายวิชาโดย สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ | (วุฒิบัตร) |
๑๕. | วันที่ ๑๘ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๔ ผ่านการอบรมหลักสูตร Outcome-Based Education (OBE) รุ่นที่ ๕ สำหรับผู้รับผิดชอบหลักสูตรมือใหม่ที่ยังไม่มีประสบการณ์ในการพัฒนาหลักสูตรตามหลักการ OBE จัดโดย ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ) | (เกียรติบัตร) |
๑๖. | วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรราการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริต โดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๑ เรื่อง เสริมพลังการมีส่วนร่วมของศาสนบุคคลขับเคลื่อนพลัง “บ-ว-ร” ต่อต้านการทุจริต จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และสำนักงาน ป.ป.ช. | (วุฒิบัตร) |
๑๗. | วันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรราการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริต โดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๒ เรื่อง หลักธรรมกับการขับเคลื่อนพลัง “บ-ว-ร” ต่อต้านการทุจริต จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และสำนักงาน ป.ป.ช. | (วุฒิบัตร) |
๑๘. | วันที่ ๒ – ๓ กันยายน ๒๕๖๔ ผ่านการอบรมหลักสูตร AUN-QA Implementation and Gap Analysis version 4 รุ่นที่ ๓ สำหรับผู้บริหารด้านวิชาการและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ยังไม่มีประสบการณ์ในการใช้เกณฑ์ AUN-QA ในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาก่อน จัดโดย ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ) | (เกียรติบัตร) |
๑๙. | วันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๖๔ การพัฒนาอบรมในโครงการพัฒนาหลักสูตรตามเกณฑ์มาตราฐานระดับปริญญาตรี “การพัฒนาหลักสูตร Non – Degree (หลักสูตรระยะสั้น) ด้านสังคมศาสตร์” | (วุฒิบัตร) |
๒๐. | วันที่ ๒๙ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ ผ่านการอบรมหลักสูตร AUN-QA Implementation and Gap Analasis Version 4 รุ่น ๔ จัดโดย ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ประจำปี ๒๕๖๔ | (เกียรติบัตร) |
๒๑. | วันที่ ๒๐ – ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๔ ผ่านการอบรมหลักสูตร พัฒนาผู้ประเมินฯ ระดับหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-QA version 4 รุ่นที่ ๒ | (เกียรติบัตร) |
๒๒. | วันที่ ๒๙ เมษายน-๑ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร | (วุฒิบัตร) |
๒๓. | วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรทบทวนการประเมิน AUN-version4 (Assessor Calibration) รุ่นที่ ๒ | (เกียรติบัตร) |
๒๔. | วันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๖ ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรการพัฒนานักจัดการงานวิจัยเชิงพื้นที่ ABC Academy for Developing Area Based Research Manager | (ประกาศนียบัตร) |
ปีการศึกษา ๒๕๖๗ | ||
๑. | วันที่ ๑-๒ มิถุนายน ๒๕๖๗ ได้ผ่านการอบรมโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ SOCIAL RETURN ON INVESTMENT FOR EVALUATOR (SROI for Evaluator) | (เกียรติบัตร) |
๒. | 8 June 2024 has supporteb the Overseas Dhammaduta Bhikkhus Traning Course, Class 30. | (เกียรติบัตร) |
๓. | วันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๗ ได้เข้าร่วมโครงการ Upskills เทคนิคการสอนในยุค Digital |
(เกียรติบัตร) |
๔. | วันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๗ เป็นวิทยากร ในโครงการฝึกอบรม “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่) รุ่นที่ ๑๕ | (เกียรติบัตร) |
๕. | วันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๗ ผ่านการอบรมหลักสูตร ทบทวนเกณฑ์สำหรับการเป็นผู้ประเมินฯ ระดับหลักสุตร รุ่น ๑๒ | (เกียรติบัตร) |
๖. | วันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖๗ ได้ผ่านการแอบรม โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและสังคมจากการลงทุน (SROI) | (วุฒิบัตร) |