ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ธิลาว
Asst.Prof. Dr.Prasert Thiloa
๑. วุฒิการศึกษา | |||
ปีสำเร็จการศึกษา | ระดับการศึกษา | สถาบัน | เอกสาร |
พ.ศ. ๒๕๕๔ | พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ เอกการบริหารรัฐกิจ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๕๕ | พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๕๘ | พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | (PDF) |
๒. ตำแหน่งปัจจุบัน | ||
ก. ตำแหน่งทางวิชาการ/บริหาร | ||
พ.ศ. ๒๕๖๒ | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ | (PDF) |
พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ | เลขานุการหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ | (PDF) |
๓. ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และสิ่งตีพิมพ์ | ||
๑. ผลงานวิจัย | ||
๑.๑ | ||
๒. ผลงานทางวิชาการ : ตำรา/หนังสือ |
||
๒.๑ | ||
๓. สิ่งตีพิมพ์/บทความทางวิชาการ |
||
๓.๑ | ดร.ประเสริฐ ธิลาว, (เขียนร่วม). “พระพุทธศาสนาในจีน ทิเบต เวียดนาม ญี่ปุ่น : มองผ่านงานพระศรีคัมภีรญาณ”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙) : ๒๖๓ – ๒๗๘. | (PDF) |
๓.๒ | ดร.ประเสริฐ ธิลาว, (เขียนร่วม). “การเมืองเรื่องพระพุทธรูป”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๐) : ๒๔๑ – ๒๕๖. | (PDF) |
๓.๓ | ดร.ประเสริฐ ธิลาว, (เขียนร่วม). “ความเตี้ยกับการบวชเป็นพระในสังคมไทย : บทวิเคราะห์ด้วยเกณฑ์และคุณสมบัติการบวชในพระพุทธศาสนา”. วารสาร มจร การพัฒนาสังคม. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (๑ มกราคม – เมษายน ๒๕๖๐) : ๗๗ – ๙๑. | (PDF) |
๓.๔ | ดร.ประเสริฐ ธิลาว,(เขียนร่วม) “สิ่งมีชีวิตอันนอกเหนือจากคนที่ชื่อว่าหนู : ท่าทีตามแนวพุทธต่อชีวิตอื่นว่าด้วยการใช้/ไม่ใช้ความรุนแรง”, วารสาร มจร การพัฒนาสังคม. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙) : ๙๔ – ๑๐๗. | (PDF) |
๓.๕ | ดร.ประเสริฐ ธิลาว, (เขียนร่วม). “การลงโทษโดยสังคม”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๐) : ๒๘๑ – ๒๙๓. | (PDF) |
๓.๖ | ดร.ประเสริฐ ธิลาว, (เขียนร่วม). “พุทธะมาร์เก็ตติ้ง”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๐) : ๒๗๐ – ๒๘๓. | (PDF) |
๓.๗ | ดร.ประเสริฐ ธิลาว, (เขียนร่วม). “วิ่งตามฝันยังไงก็ชนะ (๘ วิธี ‘วิ่งคว้าฝัน’ สไตล์คน ‘ญี่ปุ่น’)”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๖๐) : ๒๕๐ – ๒๖๔. | (PDF) |
๓.๘ | ดร.ประเสริฐ ธิลาว, (เขียนร่วม). “รัฐกับศาสนา : ศีลธรรม อำนาจ และอิสรภาพความขัดกันภายใต้ความเป็นอื่น ความรุนแรงจากรัฐสู่ศาสนา”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๒๗๓ – ๒๙๑. | (PDF) |
๓.๙ | ดร.ประเสริฐ ธิลาว, (เขียนร่วม). “ตอบเรื่อง พ.ร.บ. คณะสงฆ์ : กลไกการบริหารและแก้ปัญหาคณะสงฆ์ บทสรุปที่ยังไม่มีทางออก ?”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๑) : ๓๑๕ – ๓๒๘. | (PDF) |
๓.๑๐ | ดร.ประเสริฐ ธิลาว, (เขียนร่วม). “การบริหารการเงินของวัดในประเทศไทย : ความสอดคล้องตามหลักธรรมาภิบาลทิศทางการบริหารเงินวัด ทรัพย์สินพระศาสนาในช่วงกระแสเปลี่ยนผ่าน”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (ฉบับพิเศษเนื่องในวันวิสาขบูชา) (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑) | (PDF) |
๓.๑๑ | ดร.ประเสริฐ ธิลาว (เขียนร่วม). “ผู้สูงอายุต้นแบบตามแนวพุทธ : กรณีศึกษาหลวงพ่อวัดบางเบิด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์”. วารสารวิชาการสถาบันพัฒนาพระวิทยากร. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) | (PDF) |
๓.๑๒ | ดร.ประเสริฐ ธิลาว และคณะ. “สิ้นแสงฉาน : TWILIGHT OVER BURMA, MY LIFE AS A SHAN PRINCESS”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม) : ๒๘๗ – ๓๐๔. | (PDF) |
๓.๑๓ | ดร.ประเสริฐ ธิลาว (เขียนร่วม). “เซเปียนส์ ประวัติย่อมนุษยชาติ”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๒) | (PDF) |
๓.๑๔ | ประเสริฐ ธิลาว (เขียนร่วม). “ถอดบทเรียนจากพื้นที่ : การดูแลผู้สูงอายุตามแนวพุทธในจังหวัดสมุทรปราการ”. วารสารวิจยวิชาการ. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน ๒๕๖๒) : ๑๔๖ – ๑๖๙. | (PDF) |
๓.๑๕ | ประเสริฐ ธิลาว (เขียนร่วม). “บทบาทพระพุทธศาสนาในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจสังคม”. วารสารธรรมศาสตร์. ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน ๒๕๖๒) : ๑๒๒ – ๑๔๒. | (PDF) |
๓.๑๖ | ประเสริฐ ธิลาว (เขียนร่วม). “บทบาทเชิงรุกของพระสงฆ์ในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน ในจังหวัดชลบุรี”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (พิเศษ/เนื่องในวันวิสาบูชาโลก) (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๒๙๑ – ๓๐๐. | (PDF) |
๓.๑๗ | ประเสริฐ ธิลาว (เขียนร่วม). “การจัดการสินค้าชุมชนตามวิถีพุทธในจังหวัดกาญจนบุรี”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (พิเศษ/เนื่องในวันวิสาบูชาโลก) (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๒๗๘ – ๒๙๐. | (PDF) |
๓.๑๘ | ประเสริฐ ธิลาว (เขียนร่วม). “การจัดทําบัญชีเพื่อการจัดการศาสนสมบัติของวัด ในอําเภอพระนครศรีอยุธยา”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (พิเศษ/เนื่องในวันวิสาบูชาโลก) (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๒๕๖ – ๒๖๖. | (PDF) |
๓.๑๙ | ประเสริฐ ธิลาว (เขียนร่วม), [เขียนร่วม]. “รัฐประศาสนศาสตร์เปลี่ยนโลก”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๒) | (PDF) |
๔. ผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติ |
||
4.1 | Dr.Prasert Tilao (Co-writer). “Analytical Study of Buddhist Monks Health Care Behavior in Ayutthaya Province”, Proceeding International Conference on Humanities, Language,Culture & Business, (2nd ICoHLCB) 22-23 April 2017, Hotel De’La Ferns, Cameron Highlands Pahang, Malaysia ISBN: 978-967-14835-1-0. pp.184-187. | (PDF) |
Publication in SCOPUS |
||
(1) | Prasert Thilao, Phramaha Sunan Sunando. “The Process of the Creation of Reconciliation by Driven with Five Precepts Village Project in Ayutthaya Province”. Solid State Technology. Vol. 63 No. 2s (2020)| pp. 1941 – 1947. | (PDF) |
(2) | Prasert Thilao,Phra Udomsitthinayok Malai. (2020). “An Analysis of General Condition and Problems in Management of the Thai Sangha Administrative”. Solid State Technology. Vol. 63 No. 2s (2020)|pp.1658 – 1664. | (PDF) |
๔. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร/การฝึกอบรม | ||
๑. | วันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมอบรมภาษาอังกฤษแบบออนไลน์ ในหัวข้อ “Effective Strategies in Reading Comprehension” กลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพในการอ่านเพื่อความเข้าใจ จัดโดย สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | (เกียรติบัตร) |
๒. | วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ร่วมเสนอผลงานทางวิชาการ และร่วมประชุมในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๓ (Online) ในหัวข้อเรื่อง “พุทธศาสนาและปรัชญา : แนวคิด มุมมอง สังคมยุคหลังโควิด ๑๙″ | (เกียรติบัตร) |
๓. | วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๖๔ โครงการอบรมออนไลน์ “การวิจัยและพัฒนา (R & D) และเทคนิค ตัวอย่างการพัฒนา นวัตกรรมในงานวิจัยทางการศึกษา” จัดโดย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ร่วมกับ หน่วยปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อสังคมไทย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | (วุฒิบัตร) |
๔. | วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรณาการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริตโดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรด้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๑ เรื่อง “เสริมพลักการมีส่วนร่วมของศาสนบุคคลขับเคลื่อนพลัง “บ-ว-ร” ต่อต้านการทุจริต” | (วุฒิบัตร) |
๕. | วันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๔ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรณาการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริตโดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรด้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๒ เรื่อง “หลักธรรมกับการขับเคลื่อนพลัง บ-ว-ร ต่อต้านการทุจริต” | (วุฒิบัตร) |
๖. | วันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมสัมนาประจำปี หัวข้อ การสร้างความพร้อมในการเปิดเมืองหลังสถานการณ์โควิด-๑๙ | (เกียรติบัตร) |
๗. | วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๖ เข้าร่วมกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส่ในการบริหารงานของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ | (เกียรติบัตร) |
๘. | วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมประชุมสัมมนาวิชาการเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนา PLOs สำหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา | (วุฒิบัตร) |
ปีการศึกษา ๒๕๖๗ | ||
๑. | วันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๗ ได้เข้าร่วมโครงการ Upskills เทคนิคการสอนในยุค Digital | (เกียรติบัตร) |