ประวัติ และผลงานของ พระปลัดระพิน พุทฺธิสาโร, รศ.ดร.

พระปลัดระพิน พุทฺธิสาโร, รศ.ดร.
Phrapalad Raphin Buddhisāro, Assoc.Prof.Dr.

๑. วุฒิการศึกษา
ปีสำเร็จการศึกษา ระดับการศึกษา สถาบัน เอกสาร
พ.ศ. ๒๕๓๙ พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๔๕ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์เอเชีย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๕๕ พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (PDF)

 

๒. ตำแหน่งปัจจุบัน
     ก. ตำแหน่งทางวิชาการ/บริหาร
พ.ศ. ๒๕๖๑ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชารัการจัดการเชิงพุทธ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๖ – ปัจจุบัน รองคณบดีคณะสังคมศาสตร์ฝ่ายวิชาการ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๗ รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ อนุสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ (PDF)
      ข. ตำแหน่งกรรมการประจำหน่วยงานใน มจร และภายนอก
 

 

๓. ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และสิ่งตีพิมพ์
        ๑. ผลงานวิจัย
๑.๑ พระระพิน พุทธิสาโร, (นักวิจัยร่วม) “การเสริมสร้างสุขภาวะและการเรียนรู้ของสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาโดยการมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ในเขตภาคกลาง” (ร่วมกับคณะ) สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) (2556-2557) ผศ.ดร.ณัทธีร์ ศรีดี (หัวหน้าโครงการวิจัย) [เอกสารพิมพ์ผลการวิจัย-สุขที่ได้ธรรม โดยพระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) และคณะ. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]
๑.๒ พระระพิน พุทธิสาโร (นักวิจัยร่วม). “การพัฒนาเจตคติและจิตวิญญาณความเป็นครูในวิถีพุทธ”. รายงานการวิจัย. โดยเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
๑.๓ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร.  “รูปแบบการประยุกต์ใช้พุทธเศรษฐศาสตร์ในชุมชนต้นแบบในประเทศไทย” [โครงการวิจัยย่อย ในแผนงานโครงการเรื่อง “พุทธเศรษฐศาสตร์ในทัศนะของปราชญ์ในประเทศและต่างประเทศ”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
      ๒. ผลงานทางวิชาการ : ตำรา/หนังสือ
๒.๑
      ๓. สิ่งตีพิมพ์/บทความทางวิชาการ
๓.๑ พระระพิน พุทธิสาโร. “พระอรหันต์สิ่งสร้างทางความเชื่อในสังคมไทย : การเปลี่ยนแปลงจากความจริง สู่ความลวง”. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์.  ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑  (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๕๗) : ๑๙ – ๓๕.    (PDF)
๓.๒ พระระพิน พุทธิสาโร. “ความเป็นอื่นกับพหุลักษณ์ในอีสานตอนล่าง: พหุกรณีศึกษา โคราช ลาว เขมร และส่วย”. การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่องวิถีชาติพันธุ์ในอีสาน: “ภาวการณ์กลายเป็น” ในกระแสการเปลี่ยนแปลงสู่เสรีนิยมใหม่. ณ ห้องประชุมคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  วันที่ ๗ – ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ หน้า ๔๖๒ – ๔๗๓. (PDF)
๓.๓ พระระพิน พุทธิสาโร. “บัตรสนเท่ห์ วิธีสร้างข่าวลือที่ไม่เคยล้าสมัย : ความจริง ความลวง ความรุนแรง และความตาย”. ในงานประชุมสัมมนา และเสนองานวิจัยในงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๓ ระดับนานาชาติครั้งที่ ๑  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ระหว่าง ๒๘ – ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๙ หน้า ๓๐๔๘ – ๓๐๖๕. (PDF)
๓.๔ พระระพิน พุทธิสาโร. [เขียนร่วม] “พระพุทธศาสนาในจีน ทิเบต เวียดนาม ญี่ปุ่น : มองผ่านงานพระศรีคัมภีรญาณ”. ในงานหนังสือที่ระลึก ครบรอบ ๓๓ ปี คณะสังคมศาสตร์ มจร “อ่านพระศรีคัมภีรญาณผ่านผลงานนิพนธ์ร่วมสมัย-ศรีคัมภีรญาณวิชาการ” (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙). หน้า ๗๙ – ๙๑. และในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓ (กันยายน – ธันวาคม ๒๕๕๘) : ๒๖๓ – ๒๗๗. (PDF)
๓.๕ พระระพิน พุทธิสาโร. “อาบัติ : บทวิเคราะห์อันว่าด้วยหนังศาสนากับมุมมองท่าทีตามแบบชาวพุทธ”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๕๙) : ๒๓๒ – ๒๔๓. (PDF)
๓.๖ พระระพิน พุทฺธิสาโร. “ความขัดแย้งอันว่าด้วยสมเด็จพระสังฆราช : แนวคิด หลักปฏิบัติ และข้อเท็จจริง”. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎเพชบุรี. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๕๙) : ๓ – ๑๑. (PDF)
๓.๗ พระระพิน พุทฺธิสาโร. “แนวคิดการจัดการทรัพยากรท่องเที่ยว (วัด) ในพระพุทธศาสนา : ทฤษฎี หลักการ และวิถีปฏิบัติ”.  วารสาร มจร มนุษย์ศาสตร์ปริทรรศน์.  ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒  (กรกฎาคม – ธันวาคม) (PDF)
๓.๘ พระระพิน พุทฺธิสาโร. (เขียนร่วม). “ความเตี้ยกับการบวชเป็นพระในสังคมไทย : บทวิเคราะห์ด้วยเกณฑ์และคุณสมบัติการบวชในพระพุทธศาสนา”. วารสาร มจร การพัฒนาสังคม. ปีที่ ๑  ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน ๒๕๕๙) : ๗๗ – ๙๑. (PDF)
๓.๙ พระระพิน พุทฺธิสาโร. “พุทธวิธีการยุติความรุนแรง :แนวทางการสร้างสันติประชาธรรมในประชาคมอาเซียน”. วารสารพุทธอาเซียน. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๕๙) (PDF)
๓.๑๐ พระระพิน พุทฺธิสาโร. (เขียนร่วม). “สิ่งมีชีวิตอันนอกเหนือจากคนที่ชื่อว่าหนู : ท่าทีตามแนวพุทธต่อชีวิตอื่นว่าด้วยการใช้/ไม่ใช้ความรุนแรง”. ารสาร มจร การพัฒนาสังคม. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙) : ๙๔ – ๑๐๗. (PDF)
๓.๑๑ พระระพิน พุทฺธิสาโร. “พม่า : พระอึดอัดที่วัดมนูหะ การสื่อสารทางการเมืองและตัวตน”, วารสารพุทธอาเซียน. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑  (มกราคม-มิถุนายน 2559) : ๕๗ – ๗๒ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๖  
๓.๑๒ พระปลัดระพิน พุทฺธิสาโร, สุภัทรชัย สีสะใบ. “การพัฒนาสุขภาวะและการปรับตัวในสังคมผู้สูงอายุ ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรน์. ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๔ (กรกฎาคม-สิงหาคม) : ๔๑๘-๔๓๐ (PDF)
        ๔. ผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติ
4.1 Phra Palad Raphin Buddhisaro. “Myanmar: Different Ethnicities in Thai Buddhist University of Mahachulalongkornrajavidyalaya University in Ayutthaya Province”. The International Conference on“Asian Values in the Process of Integration and Development” 24-25th October 2019, University of Social Sciences and Humanities, Vietnam National University, Vietnam (PDF)
4.2 Phra Palad Raphin Buddhisaro, (Co-Writer). “Applying Educational Psychology for Spiritual Teacher Development in Thailand”. International Conference on Research in Psychology (ICRPCONF) London, England March 7 – 8, 2019 (PDF)
4.3 Phra Palad Raphin Buddhisaro,  (Co-Writer).  “Buddhist Economics: Resource Management Based on Buddhist Approach”. the International Conference on Humanities. Language, Culture & Business, Cameron Highlands Pahang 2017. on 22-23 April 2017 at Hotel De’La Ferns, Cameron Highlands Pahang, Malaysia. /ISBN: 978-967-14835-1-0. /pp.290-293. (PDF)
        Publication in SCOPUS
(1)  

 

๔. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร/การฝึกอบรม
๑. วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๖ เข้าร่วมกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส่ในการบริหารงานของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ (เกียรติบัตร)
๒. วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมประชุมสัมมนาวิชาการเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนา PLOs สำหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (วุฒิบัตร)
๓. วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมโครงการอบรมสื่อสารองค์กร และการประชาสัมพันธ์ บนเทคโนโลยี Blockchain ด้วย NFT+Meraverse เพื่อการสร้างมูลค่าของแบรนด์ (เกียรติบัตร)