ประวัติ และผลงานของ รองศาสตราจารย์ ดร.สุรพล สุยะพรหม

รองศาสตราจารย์ ดร.สุรพล สุยะพรหม
Assoc.Prof.Dr.Surapon Suyaprom

๑. วุฒิการศึกษา
ปีสำเร็จการศึกษา ระดับการศึกษา สถาบัน เอกสาร
พ.ศ. ๒๕๑๗ นักธรรมเอก สำนักเรียนคณะจังหวัดนครสวรรค์ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๒๑ เปรียญธรรม ๔ ประโยค สำนักเรียนคณะจังหวัดนครสวรรค์ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๒๘ พ.ม. กรมการฝึกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๒๘ พุทธศาสตรบัณฑิต สาสขาวิชาสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (PDF)
พ.ศ. ๒๕๓๑ M.A. (Politics) Poona University, India (PDF)
พ.ศ. ๒๕๓๖ Ph.D. (Political Science) Marathwada University, India (PDF)
พ.ศ. ๒๕๕๗ ประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ ๑๗ (ปปร.) สถาบันพระปกเกล้า (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๒ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก (PDF)

 

๒. ตำแหน่งปัจจุบัน
      ก. ตำแหน่งทางวิชาการ/บริหาร
พ.ศ. ๒๕๔๙ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๕๙ รองศาสตราจารย์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๔๙ – ปัจจุบัน ผู้อำนวยการหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ภาควิชารัฐศาสตร์ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๕๓ – ปัจจุบัน รองอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป (PDF)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ผู้จัดการมหาจุฬาบรรณาคาร  
พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑ รักษาการผู้อำนวยการกองนิติการ  
      ข. ตำแหน่งกรรมการประจำหน่วยงานใน มจร และภายนอก
พ.ศ. ๒๕๔๑ – ปัจจุบัน กรรมการสภาวิชาการ  
พ.ศ. ๒๕๔๑ – ปัจจุบัน กรรมการสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์  
พ.ศ. ๒๕๔๑ – ปัจจุบัน กรรมการบริหารงานบุคคล  
พ.ศ. ๒๕๕๓ – ปัจจุบัน กรรมการบริหารการเงินและทรัพย์สิน  
พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ กรรมการประจำอาคารอาคันตุกะ  
พ.ศ. ๒๕๔๑ – ปัจจุบัน กรรมการประจำวิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์  
พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘ กรรมการประจำวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์  
พ.ศ. ๒๕๕๖ – ปัจจุบัน กรรมการประจำวิทยาลัยสงฆ์เชียงราย  
พ.ศ. ๒๕๕๐ – ปัจจุบัน กรรมการประจำสถาบันสมทบชิงเจี๋ย ไต้หวัน  
พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ กรรมการประจำสถาบันพระพุทธศาสนาศรีลังกา  
พ.ศ. ๒๕๖๓ – ปัจจุบัน เลขานุการคณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ (PDF) 
พ.ศ. ๒๕๖๕ – ปัจจุบัน เลขานุการคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๕ – ปัจจุบัน ผู้ช่วยเลขานุการสภามหาวิทยาลัย (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๗ – ปัจจุบัน กรรมการบริหารหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (PDF)

 

๓. ประสบการณ์ในการบริหารอื่นๆ
พ.ศ. ๒๕๔๒ – ๒๕๔๓ ผู้ช่วยผู้จัดการโรงเรียนราชวัตรวิทยา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. ๒๕๔๓ – ๒๕๔๔ ช่วยงานบริหารองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พสล)
พ.ศ. ๒๕๔๔ ผู้บริหารดูแลกิจการโรงเรียนอนุบาลใจดีของคุณเตือนใจ สุจริตกุล (ดาวใจ ไพจิตร)
พ.ศ. ๒๕๔๖ กรรมการที่ปรึกษาดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธโรงเรียนมัธยม วัดบึงทองหลาง
พ.ศ. ๒๕๔๘ เลขาธิการสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๕๓ อุปนายกสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๕๕ นายกสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

 

๔. ประสบการณ์ในการบรรยาย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒินอกมหาวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๔๐ – ปัจจุบัน วิทยากรสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาวันวิสาขบูชาของศูนย์พิทักษ์พระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๔๓ – ๒๕๔๕ อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์โรงเรียนพาณิชยการ ธนบุรีและศูนย์โรงเรียนวัดไตรมิตรวิทยาราม
พ.ศ. ๒๕๔๔ – ๒๕๔๕ อาจารย์พิเศษ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
พ.ศ. ๒๕๔๓ – ๒๕๔๕ อาจารย์พิเศษคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์   มหาวิทยาลัยธรรมศาสต
พ.ศ. ๒๕๔๓ – ๒๕๔๖ อาจารย์พิเศษคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๕๐ วิทยากรอบรมเรื่อง อินเดียศึกษา ของศูนย์อินเดียศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พ.ศ. ๒๕๔๖ อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๔ อาจารย์พิเศษโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ
พ.ศ. ๒๕๔๗ – ๒๕๕๗ ผู้ทรงคุณวุฒิ สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยลุ่มน้ำปิง
พ.ศ. ๒๕๔๗ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสอบหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาการเมืองและเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก
พ.ศ. ๒๕๔๗ วิทยากรบรรยายเรื่อง อาหารกายและอาหารใจ มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาโลก
พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๐ อนุกรรมการธิการพิจารณาศึกษากฎหมายที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา วุฒิสภา
พ.ศ. ๒๕๕๐ – ปัจจุบัน อาจารย์พิเศษวิทยาลัยทางบรมราชชนนี สระบุรี
พ.ศ. ๒๕๕๖ – ปัจจุบัน อาจารย์พิเศษวิทยาลัยการทัพอากาศ
พ.ศ. ๒๕๔๗ – ปัจจุบัน กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และกรรมการประเมินผลการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ โครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ศ. ๒๕๕๕ – ปัจจุบัน ประธานคณะอนุกรรมการประสานความร่วมมือในการรณรงค์ป้องกันการทุจริตระหว่างสำนักงาน ปปช. กับ มจร
พ.ศ. ๒๕๕๗ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ หลักสูตร รปม. ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)

 

๕. ตำแหน่งที่ได้รับมอบหมายทางนิติบัญญัติ หรือทางตุลาการ
พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๔๙ กรรมการจัดตั้งหอสมุดรัฐสภาแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๔๙ ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการการศึกษา ศาสนา ศิลปะและ  วัฒนธรรม วุฒิสภา
พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๔๙ ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง สมาชิกสมัชชาแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๓ ที่ปรึกษาประจำคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ  สภาผู้แทนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๖ อนุกรรมาธิการในคณะกรรมาธิการศาสนาและศิลปวัฒนธรรม วุฒิสภา
พ.ศ. ๒๕๕๔ ผู้ไกล่เกลี่ยประจำศาลจังหวัดปทุมธานี
พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการตำรวจ สภาผู้แทนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและยาเสพติด สภาผู้แทนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๕๘ กรรมการปฏิรูปการพระพุทธศาสนา สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.)
พ.ศ. ๒๕๕๙ อนุญาโตตุลาการ สถาบันอนุญาโตตุลาการ สำนักงานศาลยุติธรรม กรณีข้อพิพาท ณ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

 

๖. เกียรติคุณที่ได้รับ
พ.ศ. ๒๕๔๕ พนักงานของรัฐตัวอย่าง  มจร กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. ๒๕๔๘ เกียรติบัตรสมาชิกพลร่วมสัมพันธ์กิตติมศักดิ์หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้รับพระราชทาน เสาเสมาธรรมจักร จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี  ในฐานะผู้ทำคุณประโยชน์แก่พระพุทธศาสนา
พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศนียบัตร นักเหินเวหากิตติมศักดิ์กองทัพอากาศหน่วยบัญชาการอากาศโยธิน กองบัญชาการยุทธทางอากาศ
พ.ศ. ๒๕๕๒ ศิษย์เก่าดีเด่น สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๕๕ ประกาศนียบัตร (กิตติมศักดิ์) หลักสูตรเสนาธิการกิจ โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ
พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับพระราชทาน เข็มเสนาธิปัตย์ จากสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในการบรรยายพิเศษโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ
พ.ศ. ๒๕๕๘ นักจิตวิทยาดีเด่น จากสมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๘ เกียรติบัตรประดับเครื่องหมายความสามารถกระโดดหอสูง กองทัพเรือหน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน
พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รับโล่ วชิระเกียรติคุณ “ครูดีศรี พอ. มจร”  โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๕๙ แหนบหรือเข็มรูปกระเป๋ากระสุนคันชีพ กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์
พ.ศ. ๒๕๕๙ ประกาศนียบัตร นักโดดร่มกองทัพเรือกิตติมศักดิ์ กองทัพเรือ
พ.ศ. ๒๕๖๕ รับมอบรางวัล​ “ไตรสรณะบูชา พระเสมาสยาม”
พ.ศ. ๒๕๖๗ วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๗ รับโล่เกียรติคุณ ด้านการอุปถัมภ์ทุนการศึกษาพัฒนาภาษาอังกฤษนิสิตและทุนสนับสนุนการจัดงาน “วันครบรอบการก่อตั้ง ๑๒ ปี สถาบันภาษา” (โล่รางวัล)
พ.ศ. ๒๕๖๗ วันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๗ รับโล่รางวัล “เพชรมนุษยศาสตร์” คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ครบรอบ ๖๑ ปี  (โล่รางวัล)

 

๗.  เครื่องราชอิสริยาภรณ์
พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย  (ท.ม.)
พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นทวีติยาภรณ์ช้างเผือก  (ท.ช.)

 

๘. ตำแหน่งหน้าที่ทางสังคม ปัจจุบัน
กรรมการและเหรัญญิกมูลนิธิมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
กรรมการมูลนิธิโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ มจร
กรรมการมูลนิธิพระครูธรรมสมาจารย์ (อุปัชฌาย์พัก ธมฺมทตฺโต)
กรรมการกำกับมูลนิธิเพื่อการศึกษาวัดธรรมาภิรตาราม
ไวยาวัจกร วัดธรรมาภิรตาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
ไวยาวัจกร วัดสามง่าม อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี
กรรมการมูลนิธิเสฐียร พันธรังษี
กรรมการมูลนิธิจำนงค์ ทองประเสริฐ

 

๙. ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และสิ่งตีพิมพ์
        ๑. ผลงานวิจัย
๑.๑ สุรพล  สุยะพรหม,ดร. “การประเมินผลหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์”, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชาวิทยาลัย, ๒๕๔๘.
๑.๒ สุรพล  สุยะพรหม,ผศ.ดร. “ความคิดทางการเมืองการปกครองตามแนวพระพุทธศาสนาของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)”, สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖.
๑.๓ สุรพล สุยะพรหม, ผศ.ดร. “รัฐกับการให้ความอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา : กรณีศึกษาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐, สถาบันพระปกเกล้า, ๒๕๕๖.
๑.๔ สุรพล สุยะพรหม ผศ.ดร. และคณะ, “กลไกและระบบในการดำเนินงานเพื่อบังคับใช้จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง”, สถาบันพระปกเกล้า, ๒๕๕๖.
๑.๕ สุรพล สุยะพรหม,ผศ.ดร. “การบริหารจัดการองค์การเชิงพุทธบุรณาการเพื่อการเสริมสร้างสุขภาวะและการเรียนรู้ของสังคมไทย” โครงการเสริมสร้างสุขภาวะและการเรียนรู้ของสังคมตามแนวพระพุทธศาสนา สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗.
        ๒. ผลงานทางวิชาการ : ตำรา/หนังสือ
๒.๑ สุรพล สุยะพรหม, ดร. และ ธีรยุทธ พึ่งเทียร,ดร. การบริหารงานบุคคลและวิเคราะห์ความถนัด. กรุงเทพมหานคร ; สำนักพิมพ์สูตรไพศาล, ๒๕๔๓.
๒.๒ สุรพล สุยะพรหม, ดร. และธีรยุทธ  พึ่งเทียร,ดร. แผนและโครงการ. กรุงเทพมหานคร ; สำนักพิมพ์สูตรไพศาล, ๒๕๔๔.
๒.๓ สุรพล สุยะพรหม, ดร. แนวข้อสอบระเบียบสารบรรณ ทั้งภาคปรนัยและอัตนัย. กรุงเทพมหานคร ; สำนักพิมพ์สูตรไพศาล, ๒๕๔๔.
๒.๔ สุรพล สุยะพรหม,ดร. การเมืองกับการปกครองของไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๑.กรุงเทพมหานคร ; โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘.
๒.๕ สุรพล สุยะพรหม, ผศ.ดร., และ สุทธิรัก ศรีจันทร์เพ็ญ. ระเบียบวิธีวิจัยทางการจัดการ. กรุงเทพมหานคร ; โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓.
๒.๖ สุรพล สุยะพรหม, ผศ.ดร. และคณะ. พื้นฐานทางการจัดการ. กรุงเทพมหานคร ; โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖.
๒.๗ สุรพล สุยะพรหม, ผศ.ดร. และคณะ. ทฤษฎีองค์การและการจัดการเชิงพุทธ. กรุงเทพมหานคร ; โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖.
๒.๘ สุรพล สุยะพรหม, ผศ.ดร. และคณะ. ปรัชญาการเมือง. กรุงเทพมหานคร ; โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖.
        ๓. สิ่งตีพิมพ์/บทความทางวิชาการ/บทความวิจัย
๓.๑ สุรพล สุยะพรหม, ดร. ธรรมรัฐสู่ธรรมาธิปไตย. ในสารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิตของมหาวิทยาลัย รุ่นที่ ๔๔ ปีการศึกษา ๒๕๔๐, กรุงเทพมหานคร ; โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พฤษภาคม ๒๕๔๒.
(PDF)
๓.๒ สุรพล สุยะพรหม, ดร. รัฐศาสตร์เชิงพุทธ. ในสารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิตของมหาวิทยาลัย รุ่นที่ ๔๕ ปีการศึกษา ๒๕๔๑, กรุงเทพมหานคร ; โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ; พฤษภาคม ๒๕๔๓. (PDF)
๓.๓ สุรพล  สุยะพรหม, ดร. พระพุทธศาสนากับรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน. ในสารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิตของมหาวิทยาลัย รุ่นที่ ๔๘ ปีการศึกษา ๒๕๔๔, กรุงเทพมหานคร ; โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ; พฤษภาคม ๒๕๔๖. (PDF)
๓.๔ สุรพล  สุยะพรหม, ดร. ความคิดทางการเมือง : ประชาธิปไตยตามแนวพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). ในสารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิตของมหาวิทยาลัย รุ่นที่ ๔๙ ปีการศึกษา ๒๕๔๕, กรุงเทพมหานคร ; โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พฤษภาคม ๒๕๔๗. (PDF)
๓.๕ สุรพล  สุยะพรหม, ดร. ความสัมพันธ์ไทย – จีน : มิติที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา. ในสารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิตของมหาวิทยาลัย รุ่นที่ ๔๙ ปีการศึกษา ๒๕๔๕, กรุงเทพมหานคร ; โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ; พฤษภาคม ๒๕๔๗. (PDF)
๓.๖ สุรพล  สุยะพรหม, ดร. “พระสงฆ์กับการศึกษาการเมืองการปกครอง”, วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๔๙) : หน้า ๑๒๑ – ๑๓๔. (PDF)
๓.๗ สุรพล  สุยะพรหม, ผศ.ดร. พระพุทธศาสนากับรัฐธรรมนูญฉบับใหม่. รวบรวมบทความวิชาการ เรื่อง “มหาจุฬาวิชาการ”, (กรุงเทพมหานคร ; โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๐): หน้า ๓๕๗ – ๓๖๖. (PDF)
๓.๘ สุรพล  สุยะพรหม, ผศ.ดร. รัฐกับการอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา. ในพุทธอุทยานวิชาการ : รวมบทความทางวิชาการพระพุทธศาสนาประยุกต์เข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ของวิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์. กรุงเทพมหานคร ; โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๐. (PDF)
๓.๙ สุรพล  สุยะพรหม, ผศ.ดร. ความคิดทางการเมืองตามแนวพระพุทธศาสนาของพุทธทาสภิกขุ. ใน สารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิต ประจำปี ๒๕๕๑, กรุงเทพมหานคร ; โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑. (PDF)
๓.๑๐ สุรพล  สุยะพรหม, ผศ.ดร., “สถาบันสมทบ : มิติแห่งความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ยั่งยืน”, พุทธจักร. ปีที่ ๖๔ ฉบับที่ ๘ (สิงหาคม ๒๕๕๓): หน้า ๒๕ – ๒๙. (PDF)
๓.๑๑ สุรพล  สุยะพรหม, ผศ.ดร. “การควบคุมและบังคับบัญชาองค์กรสงฆ์ไทย”, วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน ๒๕๕๕) : หน้า ๓๗-๕๑ (PDF)
๓.๑๒ สุรพล สุยะพรหม. “รูปแบบภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารมหาวิทยาลัยสงฆ์ไทย”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๕๙) : ๑-๑๖ (PDF)
๓.๑๓ สุรพล สุยะพรหม. “การประยุกต์รูปแบบการบริหารเชิงพุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดนนทบุรี”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๙) : ๙๗-๑๐๖ (PDF)
๓.๑๔ สุรพล สุยะพรหม. “การสร้างความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๘) : ๑๗-๒๔ (PDF)
๓.๑๕ สุรพล สุยะพรหม. “การบริหารจัดการกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ เพื่อสวัสดิการชุมชนอย่างยั่งยืนในเขตจังหวัดภาคใต้”. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๕๘) : ๒๒๑-๒๒๘ (PDF)
๓.๑๖ สุรพล สุยะพรหม. “การพัฒนารูปแบบการจัดการการศึกษาพระปริยัติธรรม”. วารสารคุณภาพชีวิตกับกฎหมาย. ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๘) : ๑๘๓-๑๙๗ (PDF)
๓.๑๗ สุรพล สุยะพรหม. “กระบวนการสร้างความปรองดองในสังคมไทยตามรูปแบบพุทธวิธีการชำระอธิกรณ์”. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๒๙ (พฤษภาคม-กันยายน๒๕๕๘) : ๓๙-๕๔ (PDF)
๓.๑๘ สุรพล สุยะพรหม. “รูปแบบการส่งเสริมจริยธรรมทางการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตภาคเหนือตอนล่าง”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๕๘) : ๒๐๕-๒๒๐ (PDF)
๓.๑๙ สุรพล สุยะพรหม. “พุทธบูรณาการเพื่อส่งเสริมยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งในการบริหารของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๘) : ๕๙-๗๓ (PDF)
๓.๒๐ สุรพล สุยะพรหม. “บทบาทพระสงฆ์ต่อการส่งเสริมกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ที่มีผลต่อความเข้มแข็งของชุมชนจังหวัดเชียงราย”. วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๗) : ๘๙-๑๐๘ (PDF)
๓.๒๑ สุรพล สุยะพรหม. “ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน เพื่อความยั่งยืนของเศรษฐกิจชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน”. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๕๗) : ๘๗-๑๐๑ (PDF)
๓.๒๒ สุรพล สุยะพรหม. “การบริหารจัดการองค์กรเชิงพุทธบูรณาการเพื่อการเสริมสร้างสุขภาวะ และการเรียนรู้ของสังคมไทย”. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ปีที่ ๕ ฉบับพิเศษ (ตุลาคม ๒๕๕๗) : ๑-๒๑ (PDF)
๓.๒๓ สุรพล สุยะพรหม. “บทบาทพระสงฆ์ต่อการส่งเสริมกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ที่มีผลต่อความเข้มแข็งของชุมชนจังหวัดเชียงราย”. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ปีที่ ๕ ฉบับพิเศษ (ตุลาคม ๒๕๕๗) : ๑๔๒-๑๕๙ (PDF)
๓.๒๔ สุรพล สุยะพรหม. “พุทธวิธีบริหารของสำนักปฏิบัติธรรม”. BU Academic Review. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๕๗) : ๑๐๙-๑๒๑ (PDF)
๓.๒๕ สุรพล สุยะพรหม. “ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรชุมชนเพื่อสร้างสังคมเชิงคุณภาพในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง”. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๗) : ๑๕๒-๑๕๙ (PDF)
๓.๒๖ สุรพล สุยะพรหม. “การพัฒนาองค์การพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคเหนือตอนบน”. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๒ (เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๗) : ๗๙-๘๖ (PDF)
๓.๒๗ สุรพล สุยะพรหม. “การบริหารงานของพระสังฆาธิการ ในเขตการปกครองคณะสงฆ์ภาค ๔ เพื่อความมั่นคงแห่งพระพุทธศาสนา”. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๕๖) : ๔๓-๕๔ (PDF)
๓.๒๘ สุรพล สุยะพรหม. “การสื่อสารทางการเมืองของพระเทพปฏิภาณวาที (เจ้าคุณพิพิธ): ศึกษาในช่วงเวลา พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๖๐”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๕ (กรกฎาคม ๒๕๖๒) : ๒๕๐๑-๒๕๑๘. (PDF)
๓.๒๙ สุรพล สุยะพรหม และคณะ. “โมเดลสมการโครงสร้างประสิทธิผลการจัดการขยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดอ่างทอง”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๓) : ๖๘-๗๘.  ISSN (Online): ๒๖๗๓-๐๗๘๒ (PDF)
๓.๓๐ สุรพล สุยะพรหมและคณะ. “ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพพระสอนศีลธรรมของคณะสงฆ์ภาค ๑”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๓)  : ๑-๑๓.   (PDF)
๓.๓๑ สุรพล สุยะพรหม และคณะ. “การพัฒนาความไว้วางใจทางการเมืองของประชาชนที่มีต่อนักการเมืองระดับท้องถิ่นในจังหวัดนนทบุรี”. ววารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๖๓ : ๒๓๔-๒๔๗.  (PDF)
๓.๓๒ สุรพล สุยะพรหม และคณะ. “โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุประสิทธิผลการบริหารงานของกรมแพทย์ทหารบก”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม –ธันวาคม ๒๕๖๓) : ๔๐-๕๒. (PDF)
๓.๓๓ สุรพล สุยะพรหม และคณะ. “การปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษของเทศบาลนครแม่สอด จังหวัดตาก”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๔) : ๖๖-๗๗. (PDF)
๓.๓๔ สุรพล สุยะพรหม และคณะ. “ความไว้วางใจทางการเมืองของประชาชนที่มีต่อนักการเมืองระดับท้องถิ่นใน จังหวัดนนทบุรี”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๔) : ๒๖๗-๒๗๖.  (PDF)
๓.๓๕ สุรพล สุยะพรหม และคณะ. “รูปแบบประสิทธิผลการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวในจังหวัดเชียงใหม่”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๓ ( กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๓) : ๒๒๘-๒๔๓.  (PDF)
๓.๓๖ สุรพล สุยะพรหม และคณะ. “การพัฒนาการสร้างความมั่นคงแห่งชาติของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม –ธันวาคม ๒๕๖๓) : ๒๑๕-๒๒๘. (PDF)
๓.๓๗ สุรพล สุยะพรหม และคณะ. “การพัฒนาการนำฐานข้อมูลขนาดใหญ่มาปรับใช้เพื่อการเพิ่มประสิทธิผลการปฏิบัติงานของกรมทางหลวง”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม –ธันวาคม ๒๕๖๓) : ๕๓-๖๓.  (PDF)
๓.๓๘ สุรพล สุยะพรหม และคณะ. “ประสิทธิผลการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๔) : ๑๐๕-๑๑๕.  (PDF)
๓.๓๙ สุรพล สุยะพรหม และคณะ. “การเสริมสร้างจริยธรรมทางการเมืองของนักการเมืองท้องถิ่น ในจังหวัดนครราชสีมา”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม –ธันวาคม ๒๕๖๓) : ๑๔-๒๖.  (PDF)
๓.๔๐ สุรพล สุยะพรหมและคณะ. “ประสิทธิผลการนำนโยบายการแก้ปัญหาจราจรไปปฏิบัติของกองบังคับการตำรวจจราจร”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม –ธันวาคม ๒๕๖๓) : ๗๖-๘๗.  (PDF)
๓.๔๑ สุรพล สุยะพรหม และคณะ. “การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ของกลุ่มบริษัทประกันภัยตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการ กำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม –ธันวาคม ๒๕๖๓) : ๒๗-๓๙.  (PDF)
๓.๔๒ สุรพล สุยะพรหม และคณะ. “การบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพในการปฏิบัติราชการของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม –ธันวาคม ๒๕๖๓) : ๑๓๗-๑๕๐.
(PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๖  
๓.๔๓ สุรพล สุยะพรหม. “การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ในมิติสังคมพหุวัฒนธรรม : กรณีศึกษาชุมชนวัดละหาร จังหวัดนนทบุรี”. วารมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ (เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๖) :  ๑๒๘-๑๓๘.  (PDF)
๓.๔๔ สุรพล สุยะพรหม และคณะ. “การขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมความมั่นคงทางสังคมของชุมชนในประเทศไทย”. วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๖ (มิถุนายน ๒๕๖๖) : ๗๓-๘๕. (PDF)
        ๔. ผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติ
4.1 Assoc.Prof.Surapon Suyaprom. “Analytical Study of Buddhism-Based Good Governance Application in Public and Private Sectors Management”. 1st International Conference on Multidisciplinary and Current Educational Research. Ayuttaya, Thailand 30th  – 31st July, 2020: 248 – 254. (PDF)
        ๕. ผลงานทางวิชาการด้านอื่นๆ
๕.๑ เป็นประธานควบคุมวิทยานิพนธ์ (ประธานกรรมการที่ปรึกษา) วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ ของนายนริศร ทองธิราช เรื่อง นโยบายของรัฐกับปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร : กรณีศึกษาการแก้ไขปัญหาเกษตรกรที่จังหวัดสกลนคร, มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๕๐.
๕.๒ เป็นกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ (กรรมการที่ปรึกษา)วิทยานิพนธ์ หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ของพระเทพปริยัติเมธี (ขณะที่มีสมณศักดิ์ที่ พระราชปริยัติ : สฤษดิ์  สิริธโร) เรือง การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙.
๕.๓ เป็นประธานกรรมการและเป็นกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์หรือกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนิสิตระดับปริญญาโท หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๔๙ – ปัจจุบัน ที่สำเร็จการศึกษาแล้ว ประมาณกว่า ๒๕ เรื่อง
๕.๔ เป็นประธานกรรมการและเป็นกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์หรือกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนิสิตระดับปริญญาโท หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๑ – ปัจจุบัน ที่สำเร็จการศึกษาแล้ว ประมาณกว่า ๒๕ เรื่อง
๕.๕ เป็นกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์
๕.๖ เป็นกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เช่น รูปแบบการเมืองภาคประชาชนว่าด้วยเรื่องที่ดินทำกิน
๕.๗ เป็นกรรมการและเลขานุการยกร่างหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ และสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ
๕.๘ เป็นกรรมการและเลขานุการยกร่างหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ และสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ
        Publication in SCOPUS
(1) Surapon Suyaprom and Others. [Sman Ngamsnit]. (2020) .Human Development in Accordance with Buddhist Strategies. |Solid State TechnologyI Vol. 63 No. 2s (2020) I pp. 1971 – 1976. [SCOPUS Q4] (PDF)
(2) Surapon Suyaprom and Others.[Apinyar Chatchorfa, Grit Permtanjit]. (2020). A Causal Relationship Model of Effectiveness Waste Management of Local Government Organizations in Ang Tong Province.  |Solid State TechnologyI Vol. 63 No. 2s (2020)I pp. 1948 – 1952. [SCOPUS Q4] (PDF)
(3) Surapon Suyaprom and Others.[Bunchira Phichanajita, Boonton Dockthaisong,Lampong Klomkul]. (2020). A Structural Equation Model of Human Capital Development of Royal Thai Police Headquarters in accordance with Buddhist Integration.  |Solid State TechnologyI Vol. 63 No. 2s (2020)I pp.2139 – 2143. [SCOPUS Q4] (PDF)
(4) Surapon Suyaprom and Others. [Aphiwat Jata,Bunchira Phuchanajita, Lampong Klomkul]. (2020).  A Model of Key Success Factors in Public Policy of Marijuana in Alternative Medicine.  |Solid State TechnologyI Vol. 63 No. 2s (2020)I pp.2043 – 2049. [SCOPUS Q4] (PDF)
(5) Surapon Suyaprom and Others. Human Development in Accordance with Buddhist Strategies. Solid State Technology. Volume 63, No. 2s, 2020:  1971 – 1976. ISSN: 0038-111X http://solidstatetechnology.us/index.php/JSST/article/view/1930 (PDF)
(6) Surapon Suyaprom and Others. A Causal Relationship Model of Effectiveness Waste Management of Local Government Organizations in Ang Tong Province. Solid State Technology. Volume 63, No. 2s, 2020:  1948 – 1952. ISSN: 0038-111X  http://solidstatetechnology.us/index.php/JSST/article/view/1927 (PDF)
(7) Surapon Suyaprom and Others. Analytical Study of Buddhism-Based Good Governance Application in Public and Private Sectors Management. Solid State Technology. Volume 63, No. 2s, 2020:  7180 – 7189. ISSN: 0038-111X by gps in Uncategorized (PDF)

 

๑๐. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร/การฝึกอบรม
๑. หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยสงฆ์ รุ่นที่ ๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๒
๒. หลักสูตร การวิจัยขั้นพื้นฐาน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ วันที่ ๒๒-๒๖ เมษายน ๒๕๔๕
๓. หลักสูตร การเขียนเค้าโครงการวิจัย สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ร่วมกับสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ วันที่ ๑-๓ มิถุนายน ๒๕๔๕
๔. หลักสูตร พัฒนาทักษะ สร้างจิตสำนึกและพัฒนางาน ๕ ส เพื่อความสำเร็จและมีประสิทธิภาพของผู้ปฏิบัติงาน วันที่ ๖-๘ มิถุนายน ๒๕๔๖ โดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๕. หลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรและผลงานทางวาการด้านสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มจร วันที่ ๙-๑๑ กันยายน ๒๕๔๙
๖. หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครองในระบบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ ๑๗ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๗
๗. วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. Road Map to Academic Positions กิจกรรมบริการวิชาการและบริการสังคมหลักสูตรสันติศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หัวข้อ เรื่อง สัมมนาวิชาการเส้นทางสู่ตำแหน่งทางวิชาการ Road Map to Academic Positions ผ่านระบบ Zoom Video Conference (วุฒิบัตร)
๘. วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรราการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริต โดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๑ เรื่อง เสริมพลังการมีส่วนร่วมของศาสนบุคคลขับเคลื่อนพลัง “บ-ว-ร” ต่อต้านการทุจริต จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และสำนักงาน ป.ป.ช. (วุฒิบัตร)
๙. วันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรราการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริต โดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๒  เรื่อง หลักธรรมกับการขับเคลื่อนพลัง “บ-ว-ร” ต่อต้านการทุจริต จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และสำนักงาน ป.ป.ช. (วุฒิบัตร)
๑๐. วันที่ ๓๐ เดือนสิงหาคม ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรณาการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริตโดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรด้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๓ เรื่อง “สร้างพลเมืองไทยในอนาคต ร่วมต่อต้านการทุจริต” (วุฒิบัตร)
๑๑. วันที่ ๑ เดือนกันยายน ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรณาการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริตโดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรด้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๔ เรื่อง “หลักธรรมกับการขับเคลื่อนพลังพหุวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต” (วุฒิบัตร)
๑๒. วันที่ ๓ เดือนกันยายน ๒๕๖๔ ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรณาการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริตโดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรด้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ ๕ เรื่อง “ปลูกและปลุกพลัง บ ว ร ต่อต้านทุจริต” (วุฒิบัตร)
๑๓. วันที่ ๒๕ เดือนกันยายน ๒๕๖๔ ได้เข้าร่วมสัมนาประจำปี หัวข้อ การสร้างความพร้อมในการเปิดเมืองหลังสถานการณ์โควิด-๑๙ (เกียรติบัตร)
๑๔. ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรราการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริต โดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education จำนวน ๕ จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และสำนักงาน ป.ป.ช. (เกียรติบัตร)
๑๕. วันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๖๕ ได้เข้าร่วมอบรมสร้างการรับรู้เกี่ยวกับการคิดแยกแยะประโยชน์ส่วนตน กับประโยชน์ส่วนรวมและวิธียื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐอย่างถูกต้อง จัดโดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (วุฒิบัตร)
๑๖. วันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕ ได้ผ่านการอบรมการสร้างเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา (วุฒิบัตร)
๑๗. วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส่ในการบริหารงานของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ (เกียรติบัตร)
๑๘. วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมประชุมสัมมนาวิชาการเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนา PLOs สำหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (วุฒิบัตร)
๑๙. วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมงาน “วันกตัญญู” รำลึกถึงคุณูปการผู้เกษียณอายุการทำงาน ประจำ ๒๕๖๖ (เกียรติบัตร)
๒๐. วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๖ ได้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ในการประชุมวิชาการระดับชาต ครั้งที่ ๑ “สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ : ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม” (เกียรติบัตร)
๒๑. วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ได้เข้าร่วมการสัมมนาวิชาการระดับชาติ ครั้ง ๑ “ปรัชญาลุ่มอิง : พุทธนวัตกรรมเพื่อการเสริมสร้างสังคมสันติสุข” (เกียรติบัตร)
ปีการศึกษา ๒๕๖๗  
๑. วันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๗ ได้เข้าร่วมโครงการ Upskills เทคนิคการสอนในยุค Digital (เกียรติบัตร)
๒. วันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ได้เป็นผู้ร่วมก่อตั้งหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ณ วัดอินทาราม จังหวัดสมุทรสงคราม (ประกาศกิตติคุณ)